1.Access หมายถึง การเข้าถึงข้อมูลที่มีอยู่ในหน่วยเก็บ (storage) หรือการที่สามารถดึงข้อมูลที่อยู่ในหน่วยเก็บออกมาใช้ได้
2.Auditing การตรวจสอบที่กระทำอย่างอิสระเพื่อให้มั่นใจว่าบันทึกและกิจกรรมต่างๆ เป็นไปตามการควบคุม นโยบาย และระเบียบปฏิบัติที่ได้จัดตั้งขึ้น
3.Availability หมายถึงสภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่พร้อมจะทำงานได้
4.Clean Desk Policy นโยบายการจักเก็บเอกสาร
5.Computer Security การรักษาความปลอดภัยของข้อมูล คือ เทคนิคและวิธีการต่างๆ ที่ใช้ป้องกันการ
ลักลอบแอบดูข้อมูล การเปลี่ยนแปลง การแทน หรือ การทำลายข้อมูลที่ไม่ได้รับอนุญาต
6.Confidential information การรักษาความลับของข้อมูลสารสนเทศ
7.Confidentiality การรักษาความลับของข้อมูลที่เก็บไว้ หรือส่งผ่านทางเครือข่ายโดยป้องกันไม่ให้ผู้อื่นที่ไม่มีสิทธิ์ลักลอบดูได้
8.intruder บุคคลที่จะโจมตีหรือบุกรุกระบบ
9.Malicious User ผู้ใช้ที่มีความประสงค์ร้าย
10.Policy กฎและข้อห้ามต่าง ๆ ที่ผู้ดูแลเป็นผู้กำหนด
11.Principle of Least Privelege หลักการให้สิทธิ์แก่ผู้ใช้งาน
41 ความหมายจากสิ่งต่างๆในคอมพิวเตอร์
วันพฤหัสบดีที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
Worm ไวรัสหนอน จึ๊กๆ
หนอนคอมพิวเตอร์ (Worm )
หนอนคอมพิวเตอร์ (Worm) คืออะไร
หนอน (Worms) ในอีกความหมายหนึ่ง เป็นสิ่งที่อันตรยต่อระบบมาก (สามารถทำความเสียหายต่อระบบได้จากภายใน เหมือนกับหนอนที่กัดกิน ผลไม้จากภายใน) โดยทั่วไปก็จะคล้ายกับไวรัสคอมพิวเตอร์ และด้วยการอาศัยพฤติกรรมการทำงานของมนุษย์ยุค IT ในการแพร่กระจายตัวเองไปยัง เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น หนอนร้าย เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ถูกออกแบบมาให้สามารถแพร่กระจายตัวเองจากเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่ง ไปยังอีกเครื่องหนึ่งโดยอาศัยระบบเน็ตเวิร์ค (e-Mail) ซึ่งการแพร่กระจายสามารถทำได้ด้วยตัวของมันเองอย่างรวดเร็ว และรุนแรงกว่าไวรัสมาก
คอมพิวเตอร์ของคุณติดเวิร์มได้ด้วยวิธีใด
แฮกเกอร์คือผู้ที่เชี่ยวชาญในการแฝงคอมพิวเตอร์เวิร์มในรูปของเอกสารแนบอีเมล เมื่อผู้ใช้ที่ไม่ระวังตัวเปิดเอกสารแนบดังกล่าว เวิร์มนั้นก็จะเริ่มทำงานตามที่แฮกเกอร์ต้องการให้ทำทันที เช่น เวิร์มดังกล่าวจะส่งตัวเองในรูปของเอกสารแนบอีเมลโดยอัตโนมัติไปยังทุกคนที่มีรายชื่อในสมุดอีเมลแอดเดรสของผู้ใช้นั้น เวิร์ม Mydoom ซึ่งปรากฏตัวเป็นครั้งแรกในเดือนกุมภาพันธ์ 2004 ใช้เทคนิคที่ดูเหมือนไม่มีอันตรายในการหลอกให้ผู้ใช้คลิกที่ไฟล์แนบนั้น ผู้สร้างเวิร์มดังกล่าวได้บรรจงออกแบบ ข้อความแจ้งเตือนอีเมลที่ดูเหมือนไม่มีพิษภัยขึ้นมาจำนวนหนึ่ง โดยใช้ชื่อหัวเรื่องต่างๆ เช่น "Mail Deliver System" "Test" หรือ "Mail Transaction Failed" ซึ่งโดยปกติคุณคงได้รับ อีเมลประเภทนี้เป็นประจำอยู่แล้ว ข้อความเหล่านี้โดยปกติเป็นข้อความที่เป็นทางการที่ใช้ในการแจ้งให้เราทราบว่ามีข้อความอีเมลที่เราส่งออกไปข้อความหนึ่งไม่ถึงมือผู้รับตามที่เราตั้งใจ โดยทั่วไป ข้อความเหล่านี้มักมีภาษาเทคนิคที่เราอ่านไม่เข้าใจ ผู้สร้างเวิร์ม Mydoom จึงเลียนแบบภาษาเทคนิคดังกล่าวในลักษณะที่ทำให้ตนสามารถหลอกคนเป็นล้านๆ คนให้เปิดเอกสารแนบนั้นได้
Mydoom เวอร์ชันหลังๆ จะใช้กลยุทธ์ขู่ให้กลัว เช่น การส่งอีเมลที่ดูเหมือนว่าเป็นอีเมลจากผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตของคุณ แจ้งเตือนคุณว่ามีเวิร์มติดในระบบของคุณและ วิธีเดียวที่จะสามารถทำลายเวิร์มดังกล่าวได้ก็คือเปิดเอกสารแนบนั้น ถึงตอนนี้คุณคงเดาออกแล้วว่า เอกสารแนบเหล่านั้นมีเวิร์มแอบแฝงอยู่
เวิร์มแพร่กระจายจากคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปยังคอมพิวเตอร์จำนวนมากได้อย่างไร
วิธีการแพร่กระจายของเวิร์มที่แอบแฝงยิ่งกว่าเดิมก็คือการส่งอีเมลที่มีเอกสารแนบที่เป็นอันตรายจำนวนมากขึ้น ไปยังทุกคนที่มีรายชื่ออยู่ในสมุดอีเมลแอดเดรสของผู้ใช้คนหนึ่ง เพื่อแพร่กระจายต่อไป ด้วยวิธีนี้ เวิร์มดังกล่าวจึงแฝงตัวในอีเมลที่ดูเหมือนว่าส่งมาจากเพื่อนที่ผู้รับรู้จักและไว้วางใจได้ ดังนั้น จึงเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งที่ต้องใช้ความระมัดระวังในการเปิดเอกสารแนบของอีเมล์
การทำความเสียหาย
นอกเหนือจากการแพร่ขยายตัวเองแล้ว เวิร์มยังสามารถถูกกำหนดให้ทำสิ่งอื่นๆ ได้อีกด้วย ตัวอย่างเช่น Mydoom ได้ถูกออกแบบมาในลักษณะที่คอมพิวเตอร์ที่ติดเวิร์มดังกล่าว (เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "คอมพิวเตอร์ผีดิบ") จะทำความเสียหายต่อเป้าหมายบางอย่างตามที่กำหนดและในเวลาที่กำหนด การโจมตีนี้เรียกว่า การโจมตี "Distributed Denial of Service" (DDoS) ซึ่งได้รับการออกแบบให้ถล่มเครือข่ายด้วยการส่งข้อมูลจำนวนมากเข้าไปอย่างท่วมท้น มีผลให้เครือข่ายนั้นล่ม
การป้องกันและการทำลายเวิร์ม
วิธีที่ดีที่สุดในการป้องกันการติดเวิร์มคือการใช้ความระมัดระวังในการเปิดเอกสารแนบอีเมล หากคุณได้รับเอกสารแนบที่อยู่ในอีเมลจากเพื่อน วิธีที่ปลอดภัยที่สุดคือ ให้ติดต่อเพื่อนคนนั้นแล้วถามว่าได้ตั้งใจส่งเอกสารแนบดังกล่าวมาให้จริงหรือไม่ และหากว่าคุณได้รับเอกสารแนบในอีเมลจากใครบางคนที่คุณไม่รู้จัก วิธีที่ปลอดภัยที่สุดคือลบอีเมลฉบับนั้นทิ้ง
หนอนคอมพิวเตอร์ (Worm) คืออะไร
หนอน (Worms) ในอีกความหมายหนึ่ง เป็นสิ่งที่อันตรยต่อระบบมาก (สามารถทำความเสียหายต่อระบบได้จากภายใน เหมือนกับหนอนที่กัดกิน ผลไม้จากภายใน) โดยทั่วไปก็จะคล้ายกับไวรัสคอมพิวเตอร์ และด้วยการอาศัยพฤติกรรมการทำงานของมนุษย์ยุค IT ในการแพร่กระจายตัวเองไปยัง เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น หนอนร้าย เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ถูกออกแบบมาให้สามารถแพร่กระจายตัวเองจากเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่ง ไปยังอีกเครื่องหนึ่งโดยอาศัยระบบเน็ตเวิร์ค (e-Mail) ซึ่งการแพร่กระจายสามารถทำได้ด้วยตัวของมันเองอย่างรวดเร็ว และรุนแรงกว่าไวรัสมาก
คอมพิวเตอร์ของคุณติดเวิร์มได้ด้วยวิธีใด
แฮกเกอร์คือผู้ที่เชี่ยวชาญในการแฝงคอมพิวเตอร์เวิร์มในรูปของเอกสารแนบอีเมล เมื่อผู้ใช้ที่ไม่ระวังตัวเปิดเอกสารแนบดังกล่าว เวิร์มนั้นก็จะเริ่มทำงานตามที่แฮกเกอร์ต้องการให้ทำทันที เช่น เวิร์มดังกล่าวจะส่งตัวเองในรูปของเอกสารแนบอีเมลโดยอัตโนมัติไปยังทุกคนที่มีรายชื่อในสมุดอีเมลแอดเดรสของผู้ใช้นั้น เวิร์ม Mydoom ซึ่งปรากฏตัวเป็นครั้งแรกในเดือนกุมภาพันธ์ 2004 ใช้เทคนิคที่ดูเหมือนไม่มีอันตรายในการหลอกให้ผู้ใช้คลิกที่ไฟล์แนบนั้น ผู้สร้างเวิร์มดังกล่าวได้บรรจงออกแบบ ข้อความแจ้งเตือนอีเมลที่ดูเหมือนไม่มีพิษภัยขึ้นมาจำนวนหนึ่ง โดยใช้ชื่อหัวเรื่องต่างๆ เช่น "Mail Deliver System" "Test" หรือ "Mail Transaction Failed" ซึ่งโดยปกติคุณคงได้รับ อีเมลประเภทนี้เป็นประจำอยู่แล้ว ข้อความเหล่านี้โดยปกติเป็นข้อความที่เป็นทางการที่ใช้ในการแจ้งให้เราทราบว่ามีข้อความอีเมลที่เราส่งออกไปข้อความหนึ่งไม่ถึงมือผู้รับตามที่เราตั้งใจ โดยทั่วไป ข้อความเหล่านี้มักมีภาษาเทคนิคที่เราอ่านไม่เข้าใจ ผู้สร้างเวิร์ม Mydoom จึงเลียนแบบภาษาเทคนิคดังกล่าวในลักษณะที่ทำให้ตนสามารถหลอกคนเป็นล้านๆ คนให้เปิดเอกสารแนบนั้นได้
Mydoom เวอร์ชันหลังๆ จะใช้กลยุทธ์ขู่ให้กลัว เช่น การส่งอีเมลที่ดูเหมือนว่าเป็นอีเมลจากผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตของคุณ แจ้งเตือนคุณว่ามีเวิร์มติดในระบบของคุณและ วิธีเดียวที่จะสามารถทำลายเวิร์มดังกล่าวได้ก็คือเปิดเอกสารแนบนั้น ถึงตอนนี้คุณคงเดาออกแล้วว่า เอกสารแนบเหล่านั้นมีเวิร์มแอบแฝงอยู่
เวิร์มแพร่กระจายจากคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปยังคอมพิวเตอร์จำนวนมากได้อย่างไร
วิธีการแพร่กระจายของเวิร์มที่แอบแฝงยิ่งกว่าเดิมก็คือการส่งอีเมลที่มีเอกสารแนบที่เป็นอันตรายจำนวนมากขึ้น ไปยังทุกคนที่มีรายชื่ออยู่ในสมุดอีเมลแอดเดรสของผู้ใช้คนหนึ่ง เพื่อแพร่กระจายต่อไป ด้วยวิธีนี้ เวิร์มดังกล่าวจึงแฝงตัวในอีเมลที่ดูเหมือนว่าส่งมาจากเพื่อนที่ผู้รับรู้จักและไว้วางใจได้ ดังนั้น จึงเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งที่ต้องใช้ความระมัดระวังในการเปิดเอกสารแนบของอีเมล์
การทำความเสียหาย
นอกเหนือจากการแพร่ขยายตัวเองแล้ว เวิร์มยังสามารถถูกกำหนดให้ทำสิ่งอื่นๆ ได้อีกด้วย ตัวอย่างเช่น Mydoom ได้ถูกออกแบบมาในลักษณะที่คอมพิวเตอร์ที่ติดเวิร์มดังกล่าว (เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "คอมพิวเตอร์ผีดิบ") จะทำความเสียหายต่อเป้าหมายบางอย่างตามที่กำหนดและในเวลาที่กำหนด การโจมตีนี้เรียกว่า การโจมตี "Distributed Denial of Service" (DDoS) ซึ่งได้รับการออกแบบให้ถล่มเครือข่ายด้วยการส่งข้อมูลจำนวนมากเข้าไปอย่างท่วมท้น มีผลให้เครือข่ายนั้นล่ม
การป้องกันและการทำลายเวิร์ม
วิธีที่ดีที่สุดในการป้องกันการติดเวิร์มคือการใช้ความระมัดระวังในการเปิดเอกสารแนบอีเมล หากคุณได้รับเอกสารแนบที่อยู่ในอีเมลจากเพื่อน วิธีที่ปลอดภัยที่สุดคือ ให้ติดต่อเพื่อนคนนั้นแล้วถามว่าได้ตั้งใจส่งเอกสารแนบดังกล่าวมาให้จริงหรือไม่ และหากว่าคุณได้รับเอกสารแนบในอีเมลจากใครบางคนที่คุณไม่รู้จัก วิธีที่ปลอดภัยที่สุดคือลบอีเมลฉบับนั้นทิ้ง
VPN (Virtual Private Network)
VPN หรือ Virtual Private Network หมายถึง เครือข่ายเสมือนส่วนตัว ที่ทำงานโดยใช้ โครงสร้างของ เครือข่ายสาธารณะ หรืออาจจะวิ่งบน เครือข่ายไอพีก็ได้ แต่ยังสามารถ คงความเป็นเครือข่ายเฉพาะ ขององค์กรได้ ด้วยการ เข้ารหัสแพ็กเก็ตก่อนส่ง เพื่อให้ข้อมูล มีความปลอดภัยมากขึ้น
อย่างไรก็ดี คำว่า VPN จะครอบคลุมทั้งอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ (เช่น Gateway และ Router), ซอฟต์แวร์ และส่วนที่เป็นไฟร์วอลล์
การเข้ารหัสแพ็กเก็ต เพื่อทำให้ข้อมูล มีความปลอดภัยนั้น ก็มีอยู่หลายกลไกด้วยกัน ซึ่งวิธีเข้ารหัสข้อมูล (encryption) จะทำกันที่เลเยอร์ 2 คือ Data Link Layer แต่ปัจจุบัน มีการเข้ารหัสใน IP Layer โดยมักใช้เทคโนโลยี IPSec (IP Security)
ปกติแล้ว VPN ถูกนำมาใช้กับองค์กรขนาดใหญ่ ที่มีสาขาอยู่ตามที่ต่างๆ และต้องการ ต่อเชื่อมเข้าหากัน โดยยังคงสามารถ รักษาเครือข่ายให้ใช้ได้เฉพาะ คนภายในองค์กร หรือคนที่เกี่ยวข้องด้วย เช่น ลูกค้า, ซัพพลายเออร์ เป็นต้น
นอกจากนี้แล้ว กลไกในการสร้างโครงข่าย VPN อีกประเภทหนึ่ง คือ MPLS (Multiprotocal Label Switch) เป็นวิธีในการส่งแพ็กเก็ต โดยการใส่ label ที่ส่วนหัว ของข้อความ และค่อยเข้ารหัสข้อมูล จากนั้น จึงส่งไปยังจุดหมายปลายทาง เมื่อถึงปลายทาง ก็จะถอดรหัสที่ส่วนหัวออก วิธีการนี้ ช่วยให้ผู้วางระบบเครือข่าย สามารถแบ่ง Virtual LAN เป็นวงย่อย ให้เป็น เครือข่ายเดียวกันได้
ตัวอย่างเช่น บริษัท A ก็จะได้ VPN label A ที่หัวข้อความ ของทุกแพ็กเก็ต บริษัท B ได้รหัสที่หัวข้อความเป็น B เพื่อส่งข้อมูล ข้อมูลที่ส่งออกไป ก็จะวิ่งไปหาปลายทางตาม Label ของตน ซึ่งผู้วางระบบ สามารถเพิ่มกลุ่มในวง VLAN ได้อย่างไม่จำกัด
รูปแบบบริการ VPN
บริการ VPN แบ่งออกเป็น 3 รูปแบบ
1. Access VPN: เป็นรูปแบบในการเข้าถึงเครือข่าย VPN จากอุปกรณ์เคลื่อนที่ต่างๆ ซึ่งสามารถเข้าถึงเครือข่ายได้ใน 2 ลักษณะ โดยลักษณะแรก เป็นการเข้าถึงจากไคลเอ็นต์ใดๆ ก็ได้ โดยอาศัย ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต เป็นตัวกลาง ในการติดต่อ ซึ่งจะมีการเข้ารหัสในการ ส่งสัญญาณ จากเครื่องไคลเอ็นต์ ไปยังไอเอสพี และลักษณะที่สอง เป็นการเข้าถึง จากเครื่องแอ็กเซสเซิร์ฟเวอร์ (Network Access Server-NAS) โดยเริ่มต้นจาก ผู้ใช้หมุนโมเด็ม ติดต่อมายังไอเอสพี และจากนั้น จะมีการเข้ารหัสข้อมูล และส่งต่อไปยังปลายทาง
2. Intranet VPN: เป็นรูปแบบในการเข้าถึงเครือข่าย VPN ที่ใช้เฉพาะภายในองค์กรเท่านั้น อาทิ การต่อเชื่อมเครือข่าย ระหว่างสำนักงานใหญ่ในกรุงเทพฯ และสาขาย่อย ในต่างจังหวัด เสมือนกับ การทดแทน การเช่าวงจรลีสไลน์ ระหว่าง กรุงเทพกับต่างจังหวัด โดยที่แต่ละสาขา สามารถ ต่อเชื่อมเข้ากับ ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต ในท้องถิ่นของตน เพื่อเชื่อมเข้า โครงข่าย VPN ขององค์กรอีกทีหนึ่ง
3. Extranet VPN: เป็นรูปแบบในการเข้าถึงเครือข่าย ที่คล้ายกับ Intranet VPN แต่มีการขยายวงออกไป ยังกลุ่มลูกค้า ซัพพลายเออร์ และพาร์ตเนอร์ เพื่อให้ใช้เครือข่ายได้ จุดสำคัญอย่างหนึ่ง ในการเลือกติดตั้ง VPN คือการเลือก ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต ที่วางระบบรักษาความปลอดภัย เป็นอย่างดี มีส่วนอย่างมาก ในการส่งข้อมูลบน VPN ให้ปลอดภัยมากยิ่งขึ้น เพราะถ้า ไอเอสพี มีระบบรักษาความปลอดภัย ที่รัดกุม ก็จะช่วยให้ ข้อมูลที่ส่งมา มีความปลอดภัยมากขึ้น
ประโยชน์ที่ได้รับจาก VPN
ประโยชน์ของ การติดตั้งเครือข่ายแบบ VPN จะช่วยองค์กร ประหยัดค่าใช้จ่าย เพราะไม่ว่าผู้ใช้องค์กร จะอยู่ที่ใดในโลก ก็สามารถเข้าถึง เครือข่าย VPN ของตนได้ โดยการต่อเชื่อม เข้ากับ ผู้ให้บริการท้องถิ่นนั้นๆ ทำให้ช่วยลด ค่าใช้จ่าย ในการติดต่อสื่อสาร และสามารถ ลดค่าใช้จ่ายในส่วนของ การดูแลรักษาระบบอีกด้วย นอกจากนี้ ระบบเครือข่าย VPN ยังสามารถ ให้ความคล่องตัว ในการเปลี่ยนแปลง เช่น การขยายเครือข่าย ในอนาคต
นอกจากนี้แล้ว ในแง่ของ ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต การออกบริการ VPN ก็เป็นอีกทางเลือกหนึ่ง ที่ช่วยให้ ลูกค้าของไอเอสพี ประหยัดค่าใช้จ่าย และสะดวกสบายมากขึ้น
อย่างไรก็ดี คำว่า VPN จะครอบคลุมทั้งอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ (เช่น Gateway และ Router), ซอฟต์แวร์ และส่วนที่เป็นไฟร์วอลล์
การเข้ารหัสแพ็กเก็ต เพื่อทำให้ข้อมูล มีความปลอดภัยนั้น ก็มีอยู่หลายกลไกด้วยกัน ซึ่งวิธีเข้ารหัสข้อมูล (encryption) จะทำกันที่เลเยอร์ 2 คือ Data Link Layer แต่ปัจจุบัน มีการเข้ารหัสใน IP Layer โดยมักใช้เทคโนโลยี IPSec (IP Security)
ปกติแล้ว VPN ถูกนำมาใช้กับองค์กรขนาดใหญ่ ที่มีสาขาอยู่ตามที่ต่างๆ และต้องการ ต่อเชื่อมเข้าหากัน โดยยังคงสามารถ รักษาเครือข่ายให้ใช้ได้เฉพาะ คนภายในองค์กร หรือคนที่เกี่ยวข้องด้วย เช่น ลูกค้า, ซัพพลายเออร์ เป็นต้น
นอกจากนี้แล้ว กลไกในการสร้างโครงข่าย VPN อีกประเภทหนึ่ง คือ MPLS (Multiprotocal Label Switch) เป็นวิธีในการส่งแพ็กเก็ต โดยการใส่ label ที่ส่วนหัว ของข้อความ และค่อยเข้ารหัสข้อมูล จากนั้น จึงส่งไปยังจุดหมายปลายทาง เมื่อถึงปลายทาง ก็จะถอดรหัสที่ส่วนหัวออก วิธีการนี้ ช่วยให้ผู้วางระบบเครือข่าย สามารถแบ่ง Virtual LAN เป็นวงย่อย ให้เป็น เครือข่ายเดียวกันได้
ตัวอย่างเช่น บริษัท A ก็จะได้ VPN label A ที่หัวข้อความ ของทุกแพ็กเก็ต บริษัท B ได้รหัสที่หัวข้อความเป็น B เพื่อส่งข้อมูล ข้อมูลที่ส่งออกไป ก็จะวิ่งไปหาปลายทางตาม Label ของตน ซึ่งผู้วางระบบ สามารถเพิ่มกลุ่มในวง VLAN ได้อย่างไม่จำกัด
รูปแบบบริการ VPN
บริการ VPN แบ่งออกเป็น 3 รูปแบบ
1. Access VPN: เป็นรูปแบบในการเข้าถึงเครือข่าย VPN จากอุปกรณ์เคลื่อนที่ต่างๆ ซึ่งสามารถเข้าถึงเครือข่ายได้ใน 2 ลักษณะ โดยลักษณะแรก เป็นการเข้าถึงจากไคลเอ็นต์ใดๆ ก็ได้ โดยอาศัย ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต เป็นตัวกลาง ในการติดต่อ ซึ่งจะมีการเข้ารหัสในการ ส่งสัญญาณ จากเครื่องไคลเอ็นต์ ไปยังไอเอสพี และลักษณะที่สอง เป็นการเข้าถึง จากเครื่องแอ็กเซสเซิร์ฟเวอร์ (Network Access Server-NAS) โดยเริ่มต้นจาก ผู้ใช้หมุนโมเด็ม ติดต่อมายังไอเอสพี และจากนั้น จะมีการเข้ารหัสข้อมูล และส่งต่อไปยังปลายทาง
2. Intranet VPN: เป็นรูปแบบในการเข้าถึงเครือข่าย VPN ที่ใช้เฉพาะภายในองค์กรเท่านั้น อาทิ การต่อเชื่อมเครือข่าย ระหว่างสำนักงานใหญ่ในกรุงเทพฯ และสาขาย่อย ในต่างจังหวัด เสมือนกับ การทดแทน การเช่าวงจรลีสไลน์ ระหว่าง กรุงเทพกับต่างจังหวัด โดยที่แต่ละสาขา สามารถ ต่อเชื่อมเข้ากับ ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต ในท้องถิ่นของตน เพื่อเชื่อมเข้า โครงข่าย VPN ขององค์กรอีกทีหนึ่ง
3. Extranet VPN: เป็นรูปแบบในการเข้าถึงเครือข่าย ที่คล้ายกับ Intranet VPN แต่มีการขยายวงออกไป ยังกลุ่มลูกค้า ซัพพลายเออร์ และพาร์ตเนอร์ เพื่อให้ใช้เครือข่ายได้ จุดสำคัญอย่างหนึ่ง ในการเลือกติดตั้ง VPN คือการเลือก ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต ที่วางระบบรักษาความปลอดภัย เป็นอย่างดี มีส่วนอย่างมาก ในการส่งข้อมูลบน VPN ให้ปลอดภัยมากยิ่งขึ้น เพราะถ้า ไอเอสพี มีระบบรักษาความปลอดภัย ที่รัดกุม ก็จะช่วยให้ ข้อมูลที่ส่งมา มีความปลอดภัยมากขึ้น
ประโยชน์ที่ได้รับจาก VPN
ประโยชน์ของ การติดตั้งเครือข่ายแบบ VPN จะช่วยองค์กร ประหยัดค่าใช้จ่าย เพราะไม่ว่าผู้ใช้องค์กร จะอยู่ที่ใดในโลก ก็สามารถเข้าถึง เครือข่าย VPN ของตนได้ โดยการต่อเชื่อม เข้ากับ ผู้ให้บริการท้องถิ่นนั้นๆ ทำให้ช่วยลด ค่าใช้จ่าย ในการติดต่อสื่อสาร และสามารถ ลดค่าใช้จ่ายในส่วนของ การดูแลรักษาระบบอีกด้วย นอกจากนี้ ระบบเครือข่าย VPN ยังสามารถ ให้ความคล่องตัว ในการเปลี่ยนแปลง เช่น การขยายเครือข่าย ในอนาคต
นอกจากนี้แล้ว ในแง่ของ ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต การออกบริการ VPN ก็เป็นอีกทางเลือกหนึ่ง ที่ช่วยให้ ลูกค้าของไอเอสพี ประหยัดค่าใช้จ่าย และสะดวกสบายมากขึ้น
Virus ไวรัสคอมพิวเตอร์ไม่ใช้ ไวรัสเชื้อโรคนะจ๊ะ
อย่า สับ สน ! ระหว่าง คำ ว่า คอมพิวเตอร์ ไวรัสกับไวรัส ที่ เป็น เชื้อ โรค คอมพิวเตอร์ ไวรัส นั้น เป็น แค่ ชื่อ เรียก สำหรับ โปรแกรม ประเภท หนึ่ง ที่ มี พฤติกรรม คล้าย ๆ กับไวรัส ที่ เป็น เชื้อ โรค ที่ สามารถ แพร่ เชื้อ ได้ และ มัก ทำ อันตราย ต่อ สิ่ง มี ชีวิต ที่ มัน อาศัย อยู่ แต่ ต่าง กัน ตรง ที่ ว่า คอมพิวเตอร์ ไวรัส เป็น แค่ เพียง โปรแกรม เท่า นั้น ไม่ ใช่ สิ่ง มี ชีวิต เรา ลอง มา ดู ราย ละเอียด กัน หน่อย ดี ไหม เกี่ยวกับตัว ไวรัส คอมพิวเตอร์ นี้ ลอง ติด ตาม ดู
ไวรัสคืออะไร
ไวรัส คือโปรแกรมชนิดหนึ่งที่มีความสามารถในการสำเนาตัวเองเข้าไปติดอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ได้และถ้ามีโอกาสก็สามารถแทรกเข้าไประบาดในระบบคอมพิวเตอร์อื่น ๆ ซึ่งอาจเกิดจากการนำเอาดิสก์ที่ติดไวรัสจากเครื่องหนึ่งไปใช้อีกเครื่องหนึ่ง หรืออาจผ่านระบบเครือข่ายหรือระบบสื่อสารข้อมูลไวรัสก็อาจแพร่ระบาดได้เช่นกัน
การที่คอมพิวเตอร์ใดติดไวรัส หมายถึงว่าไวรัสได้เข้าไปผังตัวอยู่ในหน่วยความจำ คอมพิวเตอร์ เรียบร้อยแล้ว เนื่องจากไวรัสก็เป็นแค่โปรแกรม ๆ หนึ่งการที่ไวรัสจะเข้าไปอยู่ ในหน่วยความจำได้นั้นจะต้องมีการถูกเรียกให้ทำงานได้นั้นยังขึ้นอยู่กับประเภทของไวรัส แต่ละตัวปกติผู้ใช้มักจะไม่รู้ตัวว่าได้ทำการปลุกคอมพิวเตอร์ไวรัสขึ้นมาทำงานแล้ว
จุดประสงค์ของการทำงานของไวรัสแต่ละตัวขึ้นอยู่กับตัวผู้เขียนโปรแกรมไวรัสนั้น เช่น อาจสร้างไวรัสให้ไปทำลายโปรแกรมหรือข้อมูลอื่น ๆ ที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือ แสดงข้อความวิ่งไปมาบน หน้าจอ เป็นต้น
"ประเภทของไวรัส"
-บูตเซกเตอร์ไวรัส
Boot Sector Viruses หรือ Boot Infector Viruses คือไวรัสที่เก็บตัวเองอยู่ในบูตเซกเตอร์ ของดิสก์ การใช้งานของบูตเซกเตอร์คือ เมื่อเครื่องคอมพิวเตอร์เริ่มทำงานขึ้นมาตอนแรก เครื่อง จะเข้าไปอ่านบูตเซกเตอร์ โดยในบูตเซกเตอร์จะมีโปรแกรมเล็ก ๆ ไว้ใช้ในการเรียกระบบ ปฎิบัติการขึ้นมาทำงานอีกทีหนึ่ง บูตเซกเตอร์ไวรัสจะเข้าไปแทนที่โปรแกรมดังกล่าว และไวรัส ประเภทนี้ถ้าไปติดอยู่ในฮาร์ดดิสก์ โดยทั่วไป จะเข้าไปอยู่บริเวณที่เรียกว่า Master Boot Sector หรือ Parition Table ของฮาร์ดดิสก์นั้น
ถ้าบูตเซกเตอร์ของดิสก์ใดมีไวรัสประเภทนี้ติดอยู่ ทุก ๆ ครั้งที่บูตเครื่องขึ้นมาโดย พยายามเรียก ดอสจากดิสก์นี้ ตัวโปรแกรมไวรัสจะทำงานก่อนและจะเข้าไปฝังตัวอยู่ใน หน่วยความจำเพื่อเตรียมพร้อมที่ จะทำงานตามที่ได้ถูกโปรแกรมมา แล้วตัวไวรัสจึงค่อยไป เรียกดอสให้ขึ้นมาทำงานต่อไป ทำให้เหมือนไม่มีอะไรเกิดขึ้น
-โปรแกรมไวรัส
Program Viruses หรือ File Intector Viruses เป็นไวรัสอีกประเภทหนึ่งที่จะติดอยู่กับโปรแกรม ซึ่งปกติก็คือ ไฟล์ที่มีนามสกุลเป็น COM หรือ EXE และบางไวรัสสามารถเข้า ไปติดอยู่ในโปรแกรมที่มีนามสกุลเป็น sys และโปรแกรมประเภท Overlay Programsได้ด้วย โปรแกรมโอเวอร์เลย์ปกติจะเป็นไฟล์ที่มีนามสกุลที่ขึ้นต้นด้วย OV วิธีการที่ไวรัสใช้เพื่อที่จะ เข้าไปติดโปรแกรมมีอยู่สองวิธี คือ การแทรกตัวเองเข้าไปอยู่ในโปรแกรมผลก็คือหลังจากท ี่ โปรแกรมนั้นติดไวรัสไปแล้ว ขนาดของโปรแกรมจะใหญ่ขึ้น หรืออาจมีการสำเนาตัวเองเข้าไปทับส่วนของโปรแกรมที่มีอยู่เดิมดังนั้นขนาดของโปรแกรมจะไม่เปลี่ยนและยากที่ จะซ่อมให้กลับเป็นดังเดิม
การทำงานของไวรัส โดยทั่วไป คือ เมื่อมีการเรียกโปรแกรมที่ติดไวรัส ส่วนของไวรัสจะทำงานก่อนและจะถือโอกาสนี้ฝังตัวเข้าไปอยู่ในหน่วยความจำทันทีแล้วจึงค่อยให้ โปรแกรมนั้นทำงานตามปกติต่อไป เมื่อไวรัสเข้าไปฝังตัวอยู่ในหน่วยความจำแล้ว หลัง จากนี้ไปถ้ามีการเรียกโปรแกรมอื่น ๆ ขึ้นมาทำงานต่อ ตัวไวรัสก็จะสำเนาตัวเองเข้าไป ในโปรแกรมเหล่านี้ทันที เป็นการแพร่ระบาดต่อไป
วิธีการแพร่ระบาดของโปรแกรม ไวรัสอีกแบบหนึ่งคือ เมื่อมีการเรียกโปรแกรมที่มีไวรัสติดอยู่ ตัวไวรัสจะเข้าไปหาโปรแกรมอื่น ๆ ที่อยู่ในดิสก์เพื่อทำสำเนาตัวเองลงไปทันทีแล้วจึงค่อยให้โปรแกรมที่ถูกเรียก นั้นทำงานตามปกติต่อไป
-ม้าโทรจัน
ม้าโทรจัน (Trojan Horse) เป็นโปรแกรมที่ถูกเขียนขึ้นมาให้ทำตัวเหมือนว่าเป็น โปรแกรมธรรมดาทั่ว ๆ ไป เพื่อหลอกล่อผู้ใช้ให้ทำการเรียกขึ้นมาทำงาน แต่เมื่อ ถูกเรียกขึ้นมาแล้ว ก็จะเริ่มทำลายตามที่โปรแกรมมาทันที ม้าโทรจันบางตัวถูกเขียนขึ้นมาใหม่ทั้ง ชุด โดยคนเขียนจะทำการตั้งชื่อโปรแกรมพร้อมชื่อรุ่นและคำอธิบายการใช้งานที่ดูสมจริง เพื่อหลอกให้คนที่จะเรียกใช้ตายใจ
จุดประสงค์ของคนเขียนม้าโทรจันอาจจะเช่นเดียวกับคนเขียนไวรัส คือ เข้าไปทำ อันตรายต่อข้อมูลที่มีอยู่ในเครื่อง หรืออาจมีจุดประสงค์เพื่อที่จะล้วงเอาความลับของระบบ คอมพิวเตอร์
ม้าโทรจันนี้อาจจะถือว่าไม่ใช่ไวรัส เพราะเป็นโปรแกรมที่ถูกเขียนขึ้นมาโดด ๆ และจะไม่มีการเข้าไปติดในโปรแกรมอื่นเพื่อสำเนาตัวเอง แต่จะใช้ความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ของ ผู้ใช้เป็นตัวแพร่ระบาดซอฟต์แวร์ที่มีม้าโทรจันอยู่ในนั้นและนับว่าเป็นหนึ่งในประเภทของโปรแกรม ที่มีความอันตรายสูง เพราะยากที่จะตรวจสอบและสร้างขึ้นมาได้ง่าย ซึ่งอาจใช้แค่แบตซ์ไฟล์ก็สามารถโปรแกรมประเภทม้าโทรจันได้
-โพลีมอร์ฟิกไวรัส
Polymorphic Viruses เป็นชื่อที่ใช้ในการเรียกไวรัสที่มีความสามารถในการแปรเปลี่ยนตัวเอง ได้เมื่อมีสร้างสำเนาตัวเองเกิดขึ้น ซึ่งอาจได้หถึงหลายร้อยรูปแบบ ผลก็คือ ทำให้ไวรัสเหล่านี้ยากต่อการถูกตรวจจับ โดยโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใช้วิธีการสแกนอย่างเดียว ไวรัสใหม่ ๆ ในปัจจุบันที่มีความสามารถนี้เริ่มมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ
-สทีลต์ไวรัส
Stealth Viruses เป็นชื่อเรียกไวรัสที่มีความสามารถในการพรางตัวต่อการตรวจจับได้ เช่น ไฟล์อินเฟกเตอร์ ไวรัสประเภทที่ไปติดโปรแกรมใดแล้วจะทำให้ขนาดของ โปรแกรมนั้นใหญ่ขึ้น ถ้าโปรแกรมไวรัสนั้นเป็นแบบสทีลต์ไวรัส จะไม่สามารถตรวจดูขนาดที่แท้จริง ของโปรแกรมที่เพิ่มขึ้นได้ เนื่องจากตัว ไวรัสจะเข้าไปควบคุมดอส เมื่อมีการใช้คำสั่ง DIR หรือโปรแกรมใดก็ตามเพื่อตรวจดูขนาดของโปรแกรม ดอสก็จะแสดงขนาดเหมือนเดิม ทุกอย่างราวกับว่าไม่มีอะไรเกิดขึ้น
"อาการของเครื่องที่ติดไวรัส"
สามารถสังเกตุการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ถ้ามีอาการดังต่อไปนี้อาจเป็นไปได้ว่าได้มีไวรัสเข้าไปติดอยู่ในเครื่องแล้ว อาการที่ว่านั้นได้แก่
"การตรวจหาไวรัส"
การสแกน
โปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใช้วิธีการสแกน (Scanning) เรียกว่า สแกนเนอร์ (Scanner) โดยจะมีการดึงเอาโปรแกรมบางส่วนของตัวไวรัสมาเก็บไว้เป็นฐานข้อมูล ส่วนที่ดึงมานั้นเราเรียกว่า ไวรัสซิกเนเจอร์ (VirusSignature)และเมื่อสแกนเนอร์ถูกเรียกขึ้นมาทำงานก็จะเข้าตรวจหาไวรัสในหน่วยความจำ บูตเซกเตอร์และไฟล์โดยใช้ ไวรัสซิกเนเจอร์ที่มีอยู่
ข้อดีของวิธีการนี้ก็คือ เราสามารถตรวจสอบซอฟแวร์ที่มาใหม่ได้ทันทีเลยว่าติดไวรัสหรือไม่ เพื่อป้องกันไม่ให้ไวรัสถูกเรียกขึ้นมาทำงานตั้งแต่เริ่มแรก แต่วิธีนี้มีจุดอ่อนอยู่หลายข้อ คือ
การตรวจการเปลี่ยนแปลง
การตรวจการเปลี่ยนแปลง คือ การหาค่าพิเศษอย่างหนึ่งที่เรียกว่า เช็คซัม (Checksum) ซึ่งเกิดจากการนำเอาชุดคำสั่งและ ข้อมูลที่อยู่ในโปรแกรมมาคำนวณ หรืออาจใช้ข้อมูลอื่น ๆ ของไฟล์ ได้แก่ แอตริบิวต์ วันและเวลา เข้ามารวมในการคำนวณด้วย เนื่องจากทุกสิ่งทุกอย่าง ไม่ว่าจะเป็นคำสั่งหรือข้อมูลที่อยู่ในโปรแกรม จะถูกแทนด้วยรหัสเลขฐานสอง เราจึงสามารถนำเอาตัวเลขเหล่านี้มาผ่านขั้นตอนการคำนวณทางคณิตศาสตร์ได้ ซึ่งวิธีการคำนวณเพื่อหาค่าเช็คซัมนี้มีหลายแบบ และมีระดับการตรวจสอบแตกต่างกันออกไป เมื่อตัวโปรแกรม ภายในเกิดการเปลี่ยนแปลง ไม่ว่าไวรัสนั้นจะใช้วิธีการแทรกหรือเขียนทับก็ตาม เลขที่ได้จากการคำนวณครั้งใหม่ จะเปลี่ยนไปจากที่คำนวณได้ก่อนหน้านี้
ข้อดีของการตรวจการเปลี่ยนแปลงก็คือ สามารถตรวจจับไวรัสใหม่ ๆ ได้ และยังมีความสามารถในการตรวจจับไวรัสประเภทโพลีมอร์ฟิกไวรัสได้อีกด้วย แต่ก็ยังยากสำหรับสทีลต์ไวรัส ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความฉลาดของโปรแกรมตรวจหาไวรัสเองด้วยว่าจะสามารถถูกหลอกโดยไวรัสประเภทนี้ได้หรือไม่ และมีวิธีการตรวจการเปลี่ยนแปลงนี้จะตรวจจับไวรัสได้ก็ต่อเมื่อไวรัสได้เข้าไปติดอยู่ในเครื่องแล้วเท่านั้น และค่อนข้างเสี่ยงในกรณีที่เริ่มมีการคำนวณหาค่าเช็คซัมเป็นครั้งแรก เครื่องที่ใช้ต้องแน่ใจว่าบริสุทธิ์พอ คือต้องไม่มีโปรแกรมใด ๆ ติดไวรัส มิฉะนั้นค่าที่หาได้จากการคำนวณที่รวมตัวไวรัสเข้าไปด้วย ซึ่งจะลำบากภายหลังในการที่จะตรวจหาไวรัสตัวนี้ต่อไป
การเฝ้าดู
เพื่อที่จะให้โปรแกรมตรวจจับไวรัสสามารถเฝ้าดูการทำงานของเครื่องได้ตลอดเวลานั้น จึงได้มีโปรแกรมตรวจจับไวรัสที่ถูกสร้งขึ้นมาเป็นโปรแกรมแบบเรซิเดนท์หรือ ดีไวซ์ไดรเวอร์ โดยเทคนิคของการเฝ้าดูนั้นอาจใช้วิธีการสแกนหรือตรวจการเปลี่ยนแปลงหรือสองแบบรวมกันก็ได้
การทำงานโดยทั่วไปก็คือ เมื่อซอฟแวร์ตรวจจับไวรัสที่ใช้วิธีนี้ถูกเรียกขึ้นมาทำงานก็จะเข้าไปตรวจในหน่วยความจำของเครื่องก่อนว่ามีไวรัสติดอยู่หรือไม่โดยใช้ไวรัสซิกเนเจอร์ ที่มีอยู่ในฐานข้อมูล จากนั้นจึงค่อยนำตัวเองเข้าไปฝังอยู่ในหน่วยความจำ และต่อไปถ้ามีการเรียกโปรแกรมใดขึ้นมาใช้งาน โปรแกรมเฝ้าดูนี้ก็จะเข้าไปตรวจโปรแกรมนั้นก่อน โดยใช้เทคนิคการสแกนหรือตรวจการเปลี่ยนแปลงเพื่อหาไวรัส ถ้าไม่มีปัญหา ก็จะอนุญาตให้โปรแกรมนั้นขึ้นมาทำงานได้ นอกจากนี้โปรแกรมตรวจจับ ไวรัสบางตัวยังสามารถตรวจสอบขณะที่มีการคัดลอกไฟล์ได้อีกด้วย
ข้อดีของวิธีนี้คือ เมื่อมีการเรียกโปรแกรมใดขึ้นมา โปรแกรมนั้นจะถูกตรวจสอบก่อนทุกครั้งโดยอัตโนมัติ ซึ่งถ้าเป็นการใช้สแกนเนอร์ จะสามารถทราบได้ว่าโปรแกรมใดติดไวรัสอยู่ ก็ต่อเมื่อทำการเรียกสแกนเนอร์นั้นขึ้นมาทำงานก่อนเท่านั้น
ข้อเสียของโปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูก็คือ จะมีเวลาที่เสียไปสำหรับการตรวจหาไวรัสก่อนทุกครั้ง และเนื่องจากเป็นโปรแกรมแบบเรซิเดนท์หรือดีไวซ์ไดรเวอร์ จึงจำเป็นจะต้องใช้หน่วยความจำส่วนหนึ่งของเครื่องตลอดเวลาเพื่อทำงาน ทำให้หน่วยความจำในเครื่องเหลือน้อยลง และเช่นเดียวกับสแกนเนอร์ ก็คือ จำเป็นจะต้องมีการปรับปรุง ฐานข้อมูลของไวรัสซิกเนเจอร์ให้ทันสมัยอยู่เสมอ
"คำแนะนำและการป้องกันไวรัส"
"การกำจัดไวรัส"
เมื่อแน่ใจว่าเครื่องติดไวรัสแล้ว ให้ทำการแก้ไขด้วยความใคร่ครวญและระมัดระวังอย่างมาก เพราะบางครั้งตัวคนแก้เองจะเป็นตัวทำลายมากกว่าตัวไวรัสจริง ๆ เสียอีก การฟอร์แมตฮาร์ดดิสก์ใหม่อีกครั้งก็ไม่ใช่ วิธีที่ดีที่สุดเสมอไป ยิ่งแย่ไปกว่านั้นถ้าทำไปโดยยังไม่ได้มีการสำรองข้อมูลขึ้นมาก่อน การแก้ไขนั้นถ้าผู้ใช้มีความรู้เกี่ยวกับไวรัสที่ กำลังติดอยู่ว่าเป็นประเภทใดก็จะช่วยได้อย่างมาก และข้อเสนอแนะต่อไปนี้อาจจะมีประโยชน์ต่อท่าน
บูตเครื่องใหม่ทันทีที่ทราบว่าเครื่องติดไวรัส
เมื่อทราบว่าเครื่องติดไวรัส ให้ทำการบูตเครื่องใหม่ทันที โดยเรียกดอสขึ้นมาทำงานจากฟลอปปีดิสก์ที่ได้เตรียมไว้ เพราะถ้าไปเรียกดอสจากฮาร์ดดิสก์ เป็นไปได้ว่า ตัวไวรัสอาจกลับเข้าไปในหน่วยความจำได้อีก เมื่อเสร็จขั้นตอนการเรียกดอสแล้ว ห้ามเรียกโปรแกรมใด ๆ ก็ตามในดิสก์ที่ติดไวรัส เพราะไม่ทราบว่าโปรแกรมใดบ้างที่มีไวรัสติดอยู่
เรียกโปรแกรมจัดการไวรัสขั้นมาตรวจหาและทำลาย
ให้เรียกโปรแกรมตรวจจับไวรัส เพื่อตรวจสอบดูว่ามีโปรแกรมใดบ้างติดไวรัส ถ้าโปรแกรมตรวจ หาไวรัสที่ใช้อยู่สามารถกำจัดไวรัสตัวที่พบได้ ก็ให้ลองทำดู แต่ก่อนหน้านี้ให้ทำการคัดลอกเพื่อสำรองโปรแกรมที่ติดไวรัสไปเสียก่อน โดยโปรแกรมจัดการไวรัสบางโปรแกรมสามารถสั่งให้ทำสำรองโปรแกรมที่ติดไวรัสไปเป็นอีกชื่อหนึ่งก่อนที่จะกำจัดไวรัส เช่น MSAV ของดอสเอง เป็นต้น
การทำสำรองก็เพราะว่า เมื่อไวรัสถูกกำจัดออกจากฌปรแกรมไป โปรแกรมนั้นอาจไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ หรือทำงานไม่ได้เลยก็เป็นไปได้ วิธีการตรวจขั้นต้นคือ ให้ลอง เปรียบเทียบขนาดของโปรแกรมหลังจากที่ถูกกำจัดไวรัสไปแล้วกับขนาดเดิม ถ้ามีขนาดน้อยกว่า แสดงว่าไม่สำเร็จ หากเป็นเช่นนั้นให้เอาโปรแกรมที่ติดไวรัสที่สำรองไว้ แล้วหาโปรแกรมจัดการ ไวรัสตัวอื่นมาใช้แทน แต่ถ้ามีขนาดมากกว่าหรือเท่ากับของเดิม เป็นไปได้ว่าการกำจัดไวรัสอาจสำเร็จ โดยอาจลองเรียกโปรแกรมตรวจหาไวรัสเพื่อทดสอบโปรแกรมอีกครั้ง
หากผลการตรวจสอบออกมาว่าปลอดเชื้อ ก็ให้ลองเรียกโปรแกรมที่ถูกกำจัดไวรัสไปนั้นขึ้นมาทดสอบการทำงานดูอย่างละเอียดว่าเป็นปกติดีอยู่หรือไม่อีกครั้ง ในช่วงดังกล่าวควรเก็บโปรแกรมนี้ที่สำรองไปขณะที่ติดไวรัสอยู่ไว้ เผื่อว่าภายหลังพบว่าโปรแกรมทำงานไม่เป็นไปตามปกติ ก็สามารถลองเรียกโปรแกรมจัดการไวรัสตัวอื่นขึ้นมากำจัดต่อไปได้ในภายหลัง แต่ถ้าแน่ใจว่าโปรแกรมทำงานเป็นปกติดี ก็ทำการลบโปรแกรมสำรองที่ยังติดไวรัสติดอยู่ทิ้งไปทันที เป็นการป้องกันไม่ให้มีการเรียกขึ้นมาใช้งานภายหลังเพราะความบังเอิญได้
ไวรัสคืออะไร
ไวรัส คือโปรแกรมชนิดหนึ่งที่มีความสามารถในการสำเนาตัวเองเข้าไปติดอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ได้และถ้ามีโอกาสก็สามารถแทรกเข้าไประบาดในระบบคอมพิวเตอร์อื่น ๆ ซึ่งอาจเกิดจากการนำเอาดิสก์ที่ติดไวรัสจากเครื่องหนึ่งไปใช้อีกเครื่องหนึ่ง หรืออาจผ่านระบบเครือข่ายหรือระบบสื่อสารข้อมูลไวรัสก็อาจแพร่ระบาดได้เช่นกัน
การที่คอมพิวเตอร์ใดติดไวรัส หมายถึงว่าไวรัสได้เข้าไปผังตัวอยู่ในหน่วยความจำ คอมพิวเตอร์ เรียบร้อยแล้ว เนื่องจากไวรัสก็เป็นแค่โปรแกรม ๆ หนึ่งการที่ไวรัสจะเข้าไปอยู่ ในหน่วยความจำได้นั้นจะต้องมีการถูกเรียกให้ทำงานได้นั้นยังขึ้นอยู่กับประเภทของไวรัส แต่ละตัวปกติผู้ใช้มักจะไม่รู้ตัวว่าได้ทำการปลุกคอมพิวเตอร์ไวรัสขึ้นมาทำงานแล้ว
จุดประสงค์ของการทำงานของไวรัสแต่ละตัวขึ้นอยู่กับตัวผู้เขียนโปรแกรมไวรัสนั้น เช่น อาจสร้างไวรัสให้ไปทำลายโปรแกรมหรือข้อมูลอื่น ๆ ที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือ แสดงข้อความวิ่งไปมาบน หน้าจอ เป็นต้น
"ประเภทของไวรัส"
-บูตเซกเตอร์ไวรัส
Boot Sector Viruses หรือ Boot Infector Viruses คือไวรัสที่เก็บตัวเองอยู่ในบูตเซกเตอร์ ของดิสก์ การใช้งานของบูตเซกเตอร์คือ เมื่อเครื่องคอมพิวเตอร์เริ่มทำงานขึ้นมาตอนแรก เครื่อง จะเข้าไปอ่านบูตเซกเตอร์ โดยในบูตเซกเตอร์จะมีโปรแกรมเล็ก ๆ ไว้ใช้ในการเรียกระบบ ปฎิบัติการขึ้นมาทำงานอีกทีหนึ่ง บูตเซกเตอร์ไวรัสจะเข้าไปแทนที่โปรแกรมดังกล่าว และไวรัส ประเภทนี้ถ้าไปติดอยู่ในฮาร์ดดิสก์ โดยทั่วไป จะเข้าไปอยู่บริเวณที่เรียกว่า Master Boot Sector หรือ Parition Table ของฮาร์ดดิสก์นั้น
ถ้าบูตเซกเตอร์ของดิสก์ใดมีไวรัสประเภทนี้ติดอยู่ ทุก ๆ ครั้งที่บูตเครื่องขึ้นมาโดย พยายามเรียก ดอสจากดิสก์นี้ ตัวโปรแกรมไวรัสจะทำงานก่อนและจะเข้าไปฝังตัวอยู่ใน หน่วยความจำเพื่อเตรียมพร้อมที่ จะทำงานตามที่ได้ถูกโปรแกรมมา แล้วตัวไวรัสจึงค่อยไป เรียกดอสให้ขึ้นมาทำงานต่อไป ทำให้เหมือนไม่มีอะไรเกิดขึ้น
-โปรแกรมไวรัส
Program Viruses หรือ File Intector Viruses เป็นไวรัสอีกประเภทหนึ่งที่จะติดอยู่กับโปรแกรม ซึ่งปกติก็คือ ไฟล์ที่มีนามสกุลเป็น COM หรือ EXE และบางไวรัสสามารถเข้า ไปติดอยู่ในโปรแกรมที่มีนามสกุลเป็น sys และโปรแกรมประเภท Overlay Programsได้ด้วย โปรแกรมโอเวอร์เลย์ปกติจะเป็นไฟล์ที่มีนามสกุลที่ขึ้นต้นด้วย OV วิธีการที่ไวรัสใช้เพื่อที่จะ เข้าไปติดโปรแกรมมีอยู่สองวิธี คือ การแทรกตัวเองเข้าไปอยู่ในโปรแกรมผลก็คือหลังจากท ี่ โปรแกรมนั้นติดไวรัสไปแล้ว ขนาดของโปรแกรมจะใหญ่ขึ้น หรืออาจมีการสำเนาตัวเองเข้าไปทับส่วนของโปรแกรมที่มีอยู่เดิมดังนั้นขนาดของโปรแกรมจะไม่เปลี่ยนและยากที่ จะซ่อมให้กลับเป็นดังเดิม
การทำงานของไวรัส โดยทั่วไป คือ เมื่อมีการเรียกโปรแกรมที่ติดไวรัส ส่วนของไวรัสจะทำงานก่อนและจะถือโอกาสนี้ฝังตัวเข้าไปอยู่ในหน่วยความจำทันทีแล้วจึงค่อยให้ โปรแกรมนั้นทำงานตามปกติต่อไป เมื่อไวรัสเข้าไปฝังตัวอยู่ในหน่วยความจำแล้ว หลัง จากนี้ไปถ้ามีการเรียกโปรแกรมอื่น ๆ ขึ้นมาทำงานต่อ ตัวไวรัสก็จะสำเนาตัวเองเข้าไป ในโปรแกรมเหล่านี้ทันที เป็นการแพร่ระบาดต่อไป
วิธีการแพร่ระบาดของโปรแกรม ไวรัสอีกแบบหนึ่งคือ เมื่อมีการเรียกโปรแกรมที่มีไวรัสติดอยู่ ตัวไวรัสจะเข้าไปหาโปรแกรมอื่น ๆ ที่อยู่ในดิสก์เพื่อทำสำเนาตัวเองลงไปทันทีแล้วจึงค่อยให้โปรแกรมที่ถูกเรียก นั้นทำงานตามปกติต่อไป
-ม้าโทรจัน
ม้าโทรจัน (Trojan Horse) เป็นโปรแกรมที่ถูกเขียนขึ้นมาให้ทำตัวเหมือนว่าเป็น โปรแกรมธรรมดาทั่ว ๆ ไป เพื่อหลอกล่อผู้ใช้ให้ทำการเรียกขึ้นมาทำงาน แต่เมื่อ ถูกเรียกขึ้นมาแล้ว ก็จะเริ่มทำลายตามที่โปรแกรมมาทันที ม้าโทรจันบางตัวถูกเขียนขึ้นมาใหม่ทั้ง ชุด โดยคนเขียนจะทำการตั้งชื่อโปรแกรมพร้อมชื่อรุ่นและคำอธิบายการใช้งานที่ดูสมจริง เพื่อหลอกให้คนที่จะเรียกใช้ตายใจ
จุดประสงค์ของคนเขียนม้าโทรจันอาจจะเช่นเดียวกับคนเขียนไวรัส คือ เข้าไปทำ อันตรายต่อข้อมูลที่มีอยู่ในเครื่อง หรืออาจมีจุดประสงค์เพื่อที่จะล้วงเอาความลับของระบบ คอมพิวเตอร์
ม้าโทรจันนี้อาจจะถือว่าไม่ใช่ไวรัส เพราะเป็นโปรแกรมที่ถูกเขียนขึ้นมาโดด ๆ และจะไม่มีการเข้าไปติดในโปรแกรมอื่นเพื่อสำเนาตัวเอง แต่จะใช้ความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ของ ผู้ใช้เป็นตัวแพร่ระบาดซอฟต์แวร์ที่มีม้าโทรจันอยู่ในนั้นและนับว่าเป็นหนึ่งในประเภทของโปรแกรม ที่มีความอันตรายสูง เพราะยากที่จะตรวจสอบและสร้างขึ้นมาได้ง่าย ซึ่งอาจใช้แค่แบตซ์ไฟล์ก็สามารถโปรแกรมประเภทม้าโทรจันได้
-โพลีมอร์ฟิกไวรัส
Polymorphic Viruses เป็นชื่อที่ใช้ในการเรียกไวรัสที่มีความสามารถในการแปรเปลี่ยนตัวเอง ได้เมื่อมีสร้างสำเนาตัวเองเกิดขึ้น ซึ่งอาจได้หถึงหลายร้อยรูปแบบ ผลก็คือ ทำให้ไวรัสเหล่านี้ยากต่อการถูกตรวจจับ โดยโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใช้วิธีการสแกนอย่างเดียว ไวรัสใหม่ ๆ ในปัจจุบันที่มีความสามารถนี้เริ่มมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ
-สทีลต์ไวรัส
Stealth Viruses เป็นชื่อเรียกไวรัสที่มีความสามารถในการพรางตัวต่อการตรวจจับได้ เช่น ไฟล์อินเฟกเตอร์ ไวรัสประเภทที่ไปติดโปรแกรมใดแล้วจะทำให้ขนาดของ โปรแกรมนั้นใหญ่ขึ้น ถ้าโปรแกรมไวรัสนั้นเป็นแบบสทีลต์ไวรัส จะไม่สามารถตรวจดูขนาดที่แท้จริง ของโปรแกรมที่เพิ่มขึ้นได้ เนื่องจากตัว ไวรัสจะเข้าไปควบคุมดอส เมื่อมีการใช้คำสั่ง DIR หรือโปรแกรมใดก็ตามเพื่อตรวจดูขนาดของโปรแกรม ดอสก็จะแสดงขนาดเหมือนเดิม ทุกอย่างราวกับว่าไม่มีอะไรเกิดขึ้น
"อาการของเครื่องที่ติดไวรัส"
สามารถสังเกตุการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ถ้ามีอาการดังต่อไปนี้อาจเป็นไปได้ว่าได้มีไวรัสเข้าไปติดอยู่ในเครื่องแล้ว อาการที่ว่านั้นได้แก่
- ใช้เวลานานผิดปกติในการเรียกโปรแกรมขึ้นมาทำงาน
- ขนาดของโปรแกรมใหญ่ขึ้น
- วันเวลาของโปรแกรมเปลี่ยนไป
- ข้อความที่ปกติไม่ค่อยได้เห็นกลับถูกแสดงขึ้นมาบ่อย ๆ
- เกิดอักษรหรือข้อความประหลาดบนหน้าจอ
- เครื่องส่งเสียงออกทางลำโพงโดยไม่ได้เกิดจากโปรแกรมที่ใช้อยู่
- แป้นพิมพ์ทำงานผิดปกติหรือไม่ทำงานเลย
- ขนาดของหน่วยความจำที่เหลือลดน้อยกว่าปกติ โดยหาเหตุผลไม่ได้
- ไฟล์แสดงสถานะการทำงานของดิสก์ติดค้างนานกว่าที่เคยเป็น
- ไฟล์ข้อมูลหรือโปรแกรมที่เคยใช้อยู่ ๆ ก็หายไป
- เครื่องทำงานช้าลง
- เครื่องบูตตัวเองโดยไม่ได้สั่ง
- ระบบหยุดทำงานโดยไม่ทราบสาเหตุ
- เซกเตอร์ที่เสียมีจำนวนเพิ่มขึ้นโดยมีการรายงานว่าจำนวนเซกเตอร์ที่เสียมีจำนวน เพิ่มขึ้นกว่าแต่ก่อนโดยที่
- ยังไม่ได้ใช้โปรแกรมใดเข้าไปตรวจหาเลย
"การตรวจหาไวรัส"
การสแกน
โปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใช้วิธีการสแกน (Scanning) เรียกว่า สแกนเนอร์ (Scanner) โดยจะมีการดึงเอาโปรแกรมบางส่วนของตัวไวรัสมาเก็บไว้เป็นฐานข้อมูล ส่วนที่ดึงมานั้นเราเรียกว่า ไวรัสซิกเนเจอร์ (VirusSignature)และเมื่อสแกนเนอร์ถูกเรียกขึ้นมาทำงานก็จะเข้าตรวจหาไวรัสในหน่วยความจำ บูตเซกเตอร์และไฟล์โดยใช้ ไวรัสซิกเนเจอร์ที่มีอยู่
ข้อดีของวิธีการนี้ก็คือ เราสามารถตรวจสอบซอฟแวร์ที่มาใหม่ได้ทันทีเลยว่าติดไวรัสหรือไม่ เพื่อป้องกันไม่ให้ไวรัสถูกเรียกขึ้นมาทำงานตั้งแต่เริ่มแรก แต่วิธีนี้มีจุดอ่อนอยู่หลายข้อ คือ
- ฐานข้อมูลที่เก็บไวรัสซิกเนเจอร์จะต้องทันสมัยอยู่เสมอ แลครอบคลุมไวรัสทุกตัว มากที่สุดเท่าที่จะทำได้
- เพราะสแกนเนอร์จะไม่สามารถตรวจจับไวรัสที่ยังไม่มี ซิกเนเจอร์ของไวรัสนั้นเก็บอยู่ในฐานข้อมูลได้
- ยากที่จะตรวจจับไวรัสประเภทโพลีมอร์ฟิก เนื่องจากไวรัสประเภทนี้เปลี่ยนแปลง ตัวเองได้
- จึงทำให้ไวรัสซิกเนเจอร์ที่ใช้สามารถนำมาตรวจสอบได้ก่อนที่ไวรัส จะเปลี่ยนตัวเองเท่านั้น
- ถ้ามีไวรัสประเภทสทีลต์ไวรัสติดอยู่ในเครื่องตัวสแกนเนอร์อาจจะไม่สามารถ ตรวจหาไวรัสนี้ได้
- ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความฉลาดและเทคนิคที่ใช้ของตัวไวรัสและ ของตัวสแกนเนอร์เองว่าใครเก่งกว่า
- เนื่องจากไวรัสมีตัวใหม่ ๆ ออกมาอยู่เสมอ ๆ ผู้ใช้จึงจำเป็นจะต้องหาสแกนเนอร์ ตัวที่ใหม่ที่สุดมาใช้
- มีไวรัสบางตัวจะเข้าไปติดในโปรแกรมทันทีที่โปรแกรมนั้นถูกอ่าน และถ้าสมมติ
- ว่าสแกนเนอร์ที่ใช้ไม่สามารถตรวจจับได้ และถ้าเครื่องมีไวรัสนี้ติดอยู่ เมื่อมีการ
- เรียกสแกนเนอร์ขึ้นมาทำงาน สแกนเนอร์จะเข้าไปอ่านโปรแกรมทีละโปรแกรม เพื่อตรวจสอบ
- ผลก็คือจะทำให้ไวรัสตัวนี้เข้าไปติดอยู่ในโปรแกรมทุกตัวที่ถูก สแกนเนอร์นั้นอ่านได้
- สแกนเนอร์รายงานผิดพลาดได้ คือ ไวรัสซิกเนเจอร์ที่ใช้บังเอิญไปตรงกับที่มี
- อยู่ในโปรแกรมธรรมดาที่ไม่ได้ติดไวรัส ซึ่งมักจะเกิดขึ้นในกรณีที่ไวรัสซิกเนเจอร์ ที่ใช้มีขนาดสั้นไป
- ก็จะทำให้โปรแกรมดังกล่าวใช้งานไม่ได้อีกต่อไป
การตรวจการเปลี่ยนแปลง
การตรวจการเปลี่ยนแปลง คือ การหาค่าพิเศษอย่างหนึ่งที่เรียกว่า เช็คซัม (Checksum) ซึ่งเกิดจากการนำเอาชุดคำสั่งและ ข้อมูลที่อยู่ในโปรแกรมมาคำนวณ หรืออาจใช้ข้อมูลอื่น ๆ ของไฟล์ ได้แก่ แอตริบิวต์ วันและเวลา เข้ามารวมในการคำนวณด้วย เนื่องจากทุกสิ่งทุกอย่าง ไม่ว่าจะเป็นคำสั่งหรือข้อมูลที่อยู่ในโปรแกรม จะถูกแทนด้วยรหัสเลขฐานสอง เราจึงสามารถนำเอาตัวเลขเหล่านี้มาผ่านขั้นตอนการคำนวณทางคณิตศาสตร์ได้ ซึ่งวิธีการคำนวณเพื่อหาค่าเช็คซัมนี้มีหลายแบบ และมีระดับการตรวจสอบแตกต่างกันออกไป เมื่อตัวโปรแกรม ภายในเกิดการเปลี่ยนแปลง ไม่ว่าไวรัสนั้นจะใช้วิธีการแทรกหรือเขียนทับก็ตาม เลขที่ได้จากการคำนวณครั้งใหม่ จะเปลี่ยนไปจากที่คำนวณได้ก่อนหน้านี้
ข้อดีของการตรวจการเปลี่ยนแปลงก็คือ สามารถตรวจจับไวรัสใหม่ ๆ ได้ และยังมีความสามารถในการตรวจจับไวรัสประเภทโพลีมอร์ฟิกไวรัสได้อีกด้วย แต่ก็ยังยากสำหรับสทีลต์ไวรัส ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความฉลาดของโปรแกรมตรวจหาไวรัสเองด้วยว่าจะสามารถถูกหลอกโดยไวรัสประเภทนี้ได้หรือไม่ และมีวิธีการตรวจการเปลี่ยนแปลงนี้จะตรวจจับไวรัสได้ก็ต่อเมื่อไวรัสได้เข้าไปติดอยู่ในเครื่องแล้วเท่านั้น และค่อนข้างเสี่ยงในกรณีที่เริ่มมีการคำนวณหาค่าเช็คซัมเป็นครั้งแรก เครื่องที่ใช้ต้องแน่ใจว่าบริสุทธิ์พอ คือต้องไม่มีโปรแกรมใด ๆ ติดไวรัส มิฉะนั้นค่าที่หาได้จากการคำนวณที่รวมตัวไวรัสเข้าไปด้วย ซึ่งจะลำบากภายหลังในการที่จะตรวจหาไวรัสตัวนี้ต่อไป
การเฝ้าดู
เพื่อที่จะให้โปรแกรมตรวจจับไวรัสสามารถเฝ้าดูการทำงานของเครื่องได้ตลอดเวลานั้น จึงได้มีโปรแกรมตรวจจับไวรัสที่ถูกสร้งขึ้นมาเป็นโปรแกรมแบบเรซิเดนท์หรือ ดีไวซ์ไดรเวอร์ โดยเทคนิคของการเฝ้าดูนั้นอาจใช้วิธีการสแกนหรือตรวจการเปลี่ยนแปลงหรือสองแบบรวมกันก็ได้
การทำงานโดยทั่วไปก็คือ เมื่อซอฟแวร์ตรวจจับไวรัสที่ใช้วิธีนี้ถูกเรียกขึ้นมาทำงานก็จะเข้าไปตรวจในหน่วยความจำของเครื่องก่อนว่ามีไวรัสติดอยู่หรือไม่โดยใช้ไวรัสซิกเนเจอร์ ที่มีอยู่ในฐานข้อมูล จากนั้นจึงค่อยนำตัวเองเข้าไปฝังอยู่ในหน่วยความจำ และต่อไปถ้ามีการเรียกโปรแกรมใดขึ้นมาใช้งาน โปรแกรมเฝ้าดูนี้ก็จะเข้าไปตรวจโปรแกรมนั้นก่อน โดยใช้เทคนิคการสแกนหรือตรวจการเปลี่ยนแปลงเพื่อหาไวรัส ถ้าไม่มีปัญหา ก็จะอนุญาตให้โปรแกรมนั้นขึ้นมาทำงานได้ นอกจากนี้โปรแกรมตรวจจับ ไวรัสบางตัวยังสามารถตรวจสอบขณะที่มีการคัดลอกไฟล์ได้อีกด้วย
ข้อดีของวิธีนี้คือ เมื่อมีการเรียกโปรแกรมใดขึ้นมา โปรแกรมนั้นจะถูกตรวจสอบก่อนทุกครั้งโดยอัตโนมัติ ซึ่งถ้าเป็นการใช้สแกนเนอร์ จะสามารถทราบได้ว่าโปรแกรมใดติดไวรัสอยู่ ก็ต่อเมื่อทำการเรียกสแกนเนอร์นั้นขึ้นมาทำงานก่อนเท่านั้น
ข้อเสียของโปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูก็คือ จะมีเวลาที่เสียไปสำหรับการตรวจหาไวรัสก่อนทุกครั้ง และเนื่องจากเป็นโปรแกรมแบบเรซิเดนท์หรือดีไวซ์ไดรเวอร์ จึงจำเป็นจะต้องใช้หน่วยความจำส่วนหนึ่งของเครื่องตลอดเวลาเพื่อทำงาน ทำให้หน่วยความจำในเครื่องเหลือน้อยลง และเช่นเดียวกับสแกนเนอร์ ก็คือ จำเป็นจะต้องมีการปรับปรุง ฐานข้อมูลของไวรัสซิกเนเจอร์ให้ทันสมัยอยู่เสมอ
"คำแนะนำและการป้องกันไวรัส"
- สำรองไฟล์ข้อมูลที่สำคัญ
- สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
- ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
- อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
- เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
- เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วง ๆ
- เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
- เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
- สำรองข้อมูลที่สำคัญของฮาร์ดดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
- เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสขึ้นมาทำงานได้
- เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น
"การกำจัดไวรัส"
เมื่อแน่ใจว่าเครื่องติดไวรัสแล้ว ให้ทำการแก้ไขด้วยความใคร่ครวญและระมัดระวังอย่างมาก เพราะบางครั้งตัวคนแก้เองจะเป็นตัวทำลายมากกว่าตัวไวรัสจริง ๆ เสียอีก การฟอร์แมตฮาร์ดดิสก์ใหม่อีกครั้งก็ไม่ใช่ วิธีที่ดีที่สุดเสมอไป ยิ่งแย่ไปกว่านั้นถ้าทำไปโดยยังไม่ได้มีการสำรองข้อมูลขึ้นมาก่อน การแก้ไขนั้นถ้าผู้ใช้มีความรู้เกี่ยวกับไวรัสที่ กำลังติดอยู่ว่าเป็นประเภทใดก็จะช่วยได้อย่างมาก และข้อเสนอแนะต่อไปนี้อาจจะมีประโยชน์ต่อท่าน
บูตเครื่องใหม่ทันทีที่ทราบว่าเครื่องติดไวรัส
เมื่อทราบว่าเครื่องติดไวรัส ให้ทำการบูตเครื่องใหม่ทันที โดยเรียกดอสขึ้นมาทำงานจากฟลอปปีดิสก์ที่ได้เตรียมไว้ เพราะถ้าไปเรียกดอสจากฮาร์ดดิสก์ เป็นไปได้ว่า ตัวไวรัสอาจกลับเข้าไปในหน่วยความจำได้อีก เมื่อเสร็จขั้นตอนการเรียกดอสแล้ว ห้ามเรียกโปรแกรมใด ๆ ก็ตามในดิสก์ที่ติดไวรัส เพราะไม่ทราบว่าโปรแกรมใดบ้างที่มีไวรัสติดอยู่
เรียกโปรแกรมจัดการไวรัสขั้นมาตรวจหาและทำลาย
ให้เรียกโปรแกรมตรวจจับไวรัส เพื่อตรวจสอบดูว่ามีโปรแกรมใดบ้างติดไวรัส ถ้าโปรแกรมตรวจ หาไวรัสที่ใช้อยู่สามารถกำจัดไวรัสตัวที่พบได้ ก็ให้ลองทำดู แต่ก่อนหน้านี้ให้ทำการคัดลอกเพื่อสำรองโปรแกรมที่ติดไวรัสไปเสียก่อน โดยโปรแกรมจัดการไวรัสบางโปรแกรมสามารถสั่งให้ทำสำรองโปรแกรมที่ติดไวรัสไปเป็นอีกชื่อหนึ่งก่อนที่จะกำจัดไวรัส เช่น MSAV ของดอสเอง เป็นต้น
การทำสำรองก็เพราะว่า เมื่อไวรัสถูกกำจัดออกจากฌปรแกรมไป โปรแกรมนั้นอาจไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ หรือทำงานไม่ได้เลยก็เป็นไปได้ วิธีการตรวจขั้นต้นคือ ให้ลอง เปรียบเทียบขนาดของโปรแกรมหลังจากที่ถูกกำจัดไวรัสไปแล้วกับขนาดเดิม ถ้ามีขนาดน้อยกว่า แสดงว่าไม่สำเร็จ หากเป็นเช่นนั้นให้เอาโปรแกรมที่ติดไวรัสที่สำรองไว้ แล้วหาโปรแกรมจัดการ ไวรัสตัวอื่นมาใช้แทน แต่ถ้ามีขนาดมากกว่าหรือเท่ากับของเดิม เป็นไปได้ว่าการกำจัดไวรัสอาจสำเร็จ โดยอาจลองเรียกโปรแกรมตรวจหาไวรัสเพื่อทดสอบโปรแกรมอีกครั้ง
หากผลการตรวจสอบออกมาว่าปลอดเชื้อ ก็ให้ลองเรียกโปรแกรมที่ถูกกำจัดไวรัสไปนั้นขึ้นมาทดสอบการทำงานดูอย่างละเอียดว่าเป็นปกติดีอยู่หรือไม่อีกครั้ง ในช่วงดังกล่าวควรเก็บโปรแกรมนี้ที่สำรองไปขณะที่ติดไวรัสอยู่ไว้ เผื่อว่าภายหลังพบว่าโปรแกรมทำงานไม่เป็นไปตามปกติ ก็สามารถลองเรียกโปรแกรมจัดการไวรัสตัวอื่นขึ้นมากำจัดต่อไปได้ในภายหลัง แต่ถ้าแน่ใจว่าโปรแกรมทำงานเป็นปกติดี ก็ทำการลบโปรแกรมสำรองที่ยังติดไวรัสติดอยู่ทิ้งไปทันที เป็นการป้องกันไม่ให้มีการเรียกขึ้นมาใช้งานภายหลังเพราะความบังเอิญได้
Trojan Horse ม้าโทรจัน
Trojan Horses คืออะไร
ม้าโทรจัน คือ โปรแกรมที่ถูกโหลดเข้าไปในคอมพิวเตอร์ เพื่อ ปฎิบัติการ "ล้วงความลับ"เช่น รหัสผ่าน, User Name และข้อมูลส่วนตัวเกี่ยวกับการ Login ระบบ ที่ถูกพิมพ์ผ่านคีย์บอร์ดโดยผู้ใช้งาน โดยส่วนใหญ่แฮคเกอร์จะส่งโปรแกรมม้าโทรจัน เข้าไปในคอมพิวเตอร์เพื่อดักจับข้อมูลดังกล่าว แล้วนำไปใช้ในการเจาะระบบ หรือเพื่อโจมตีคอมพิวเตอร์ เซิร์ฟเวอร์
ม้าโทรจัน แตกต่างจากไวรัสที่การทำงาน ไวรัสทำงานโดย ทำลายคอมพิวเตอร์ ทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์อย่างแท้จริง แต่ "ม้าโทรจัน" ไม่ทำอะไรกับคอมพิวเตอร์ ม้าโทรจันไม่มีคำสั่งหรือพฤติกรรมการทำลายคอมพิวเตอร์เหมือนไวรัส ม้าโทรจันเหมือนโปรแกรมทั่วไปในคอมพิวเตอร์ ม้าโทรจันจึงไม่ใช่ไวรัส ม้าโทรจันนั้นเป็นเครื่องมือของแฮคเกอร์ในการเจาะระบบ เพราะม้าโทรจันนั้นคือโปรแกรมที่เขียน ขึ้นเพื่อบันทึกว่าแป้นคีย์บอร์ดแป้นไหนถูกกดบ้าง ด้วยวิธีการนี้ก็จะได้ข้อมูลของ User ID, Password หลังจากนั้นโปรแกรมม้าโทรจันจะบันทึกข้อมูลลงไปใน RAM , CMOS หรือ Hidden Directory ในฮาร์ดดิสก์ แล้วก็หาโอกาสที่จะอัพโหลด ตัวเองไปยังแห่งที่ผู้เขียนม้าโทรจันกำหนด หรือบางทีแฮคเกอร์อาจจะใช้วิธีการเก็บไฟล์ดังกล่าวไปด้วยวิธีอื่น การใช้อินเตอร์เน็ต ใช้โมเด็ม หรือใช้ LAN
ปัจจุบัน เนื่องจากเป็นยุคของอินเตอร์เน็ต (Internet) ขนาดของโปรแกรมม้าโทรจันนั้นใหญ่ขึ้น และทำอะไรได้เบี่ยงเบนความสนใจมากขึ้น เช่น แสดงรูปภาพสกรีนเซฟเวอร์น่ารักๆ แต่จุดประสงค์ที่แท้จริงของม้าโทรจันคือ "สืบเสาะหาความลับ"เหมือนเดิม ม้าโทรจันบางตัวเข้ามาเพื่อเปิดช่องว่างด้านระบบรักษาความปลอดภัย รอพวกไม่หวังดี เข้ามาปฎิบัติการอีกที และอย่างที่เราทราบกันแฮคเกอร์ บางคนวางแผนยึดเครื่องพีซีเพื่อดำเนินการโจมตีเซิร์ฟเวอร์ที่ให้บริการทางอินเตอร์ให้หยุดให้บริการ
การป้องกัน-กำจัดม้าโทรจัน
1.ใช้ Firewall เพื่อป้องกันการถูกโจมตีจากแฮคเกอร์
2.ใช้ซอฟต์แวร์สำหรับการตรวจจับและทำลายโทรจัน เช่น The Cleaner 3.1 ,Trojan Remover,Anti-Trojan 5 เป็นต้น
ม้าโทรจัน คือ โปรแกรมที่ถูกโหลดเข้าไปในคอมพิวเตอร์ เพื่อ ปฎิบัติการ "ล้วงความลับ"เช่น รหัสผ่าน, User Name และข้อมูลส่วนตัวเกี่ยวกับการ Login ระบบ ที่ถูกพิมพ์ผ่านคีย์บอร์ดโดยผู้ใช้งาน โดยส่วนใหญ่แฮคเกอร์จะส่งโปรแกรมม้าโทรจัน เข้าไปในคอมพิวเตอร์เพื่อดักจับข้อมูลดังกล่าว แล้วนำไปใช้ในการเจาะระบบ หรือเพื่อโจมตีคอมพิวเตอร์ เซิร์ฟเวอร์
ม้าโทรจัน แตกต่างจากไวรัสที่การทำงาน ไวรัสทำงานโดย ทำลายคอมพิวเตอร์ ทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์อย่างแท้จริง แต่ "ม้าโทรจัน" ไม่ทำอะไรกับคอมพิวเตอร์ ม้าโทรจันไม่มีคำสั่งหรือพฤติกรรมการทำลายคอมพิวเตอร์เหมือนไวรัส ม้าโทรจันเหมือนโปรแกรมทั่วไปในคอมพิวเตอร์ ม้าโทรจันจึงไม่ใช่ไวรัส ม้าโทรจันนั้นเป็นเครื่องมือของแฮคเกอร์ในการเจาะระบบ เพราะม้าโทรจันนั้นคือโปรแกรมที่เขียน ขึ้นเพื่อบันทึกว่าแป้นคีย์บอร์ดแป้นไหนถูกกดบ้าง ด้วยวิธีการนี้ก็จะได้ข้อมูลของ User ID, Password หลังจากนั้นโปรแกรมม้าโทรจันจะบันทึกข้อมูลลงไปใน RAM , CMOS หรือ Hidden Directory ในฮาร์ดดิสก์ แล้วก็หาโอกาสที่จะอัพโหลด ตัวเองไปยังแห่งที่ผู้เขียนม้าโทรจันกำหนด หรือบางทีแฮคเกอร์อาจจะใช้วิธีการเก็บไฟล์ดังกล่าวไปด้วยวิธีอื่น การใช้อินเตอร์เน็ต ใช้โมเด็ม หรือใช้ LAN
ปัจจุบัน เนื่องจากเป็นยุคของอินเตอร์เน็ต (Internet) ขนาดของโปรแกรมม้าโทรจันนั้นใหญ่ขึ้น และทำอะไรได้เบี่ยงเบนความสนใจมากขึ้น เช่น แสดงรูปภาพสกรีนเซฟเวอร์น่ารักๆ แต่จุดประสงค์ที่แท้จริงของม้าโทรจันคือ "สืบเสาะหาความลับ"เหมือนเดิม ม้าโทรจันบางตัวเข้ามาเพื่อเปิดช่องว่างด้านระบบรักษาความปลอดภัย รอพวกไม่หวังดี เข้ามาปฎิบัติการอีกที และอย่างที่เราทราบกันแฮคเกอร์ บางคนวางแผนยึดเครื่องพีซีเพื่อดำเนินการโจมตีเซิร์ฟเวอร์ที่ให้บริการทางอินเตอร์ให้หยุดให้บริการ
การป้องกัน-กำจัดม้าโทรจัน
1.ใช้ Firewall เพื่อป้องกันการถูกโจมตีจากแฮคเกอร์
2.ใช้ซอฟต์แวร์สำหรับการตรวจจับและทำลายโทรจัน เช่น The Cleaner 3.1 ,Trojan Remover,Anti-Trojan 5 เป็นต้น
Spoof
ARP Spoof (หรืออาจเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ARP Poision) คือการโจมตีโดยใช้ช่องโหว่ของโปรโตคอล ARP เพื่อหลอกให้เหยื่อหลงกล เช่น ทำให้เหยื่อเข้าใจผิดว่าเครื่องของแฮกเกอร์คือ Gateway เพื่อที่จะบังคับให้ข้อมูลที่เหยื่อกำลังส่งไปยังเซิร์ฟเวอร์ (ที่อยู่บนอินเตอร์เน็ต) วิ่งผ่านเครื่องของแฮกเกอร์แล้วแฮกเกอร์ก็สามารถดักจับข้อมูลที่สำคัญของเหยื่อได้ เช่น ข้อมูลรหัสผ่านหรือ Cookie/Session ID
ARP คืออะไร
ARP (Address Resolution Protocol) เป็นโปรโตคอลสำหรับการจับคู่ (map) ระหว่าง Internet Protocol address (IP address) กับตำแหน่งของอุปกรณ์ในระบบเครือข่าย เช่น IP เวอร์ชัน 4 ใช้การระบุตำแหน่งขนาด 32 บิต ใน Ethernet ของระบบใช้การระบุ ตำแหน่ง 48 บิต (การระบุตำแหน่งของอุปกรณ์รู้จักในชื่อของ Media Access Control หรือ MAC address) ตาราง ARP ซึ่งมักจะเป็น cache จะรักษาการจับคู่ ระหว่าง MAC address กับ IP address โดย ARP ใช้กฎของโปรโตคอล สำหรับการสร้างการจับคู่และแปลงตำแหน่งทั้งสองฝ่าย
การทำงานของ ARP
เมื่อแพ็คเกตนำเข้าที่ระบุเครื่อง host ในระบบเครือข่ายมาถึง Gateway เครื่องที่ Gateway จะเรียกโปรแกรม ARP ให้หาเครื่อง host หรือ MAC address ที่ตรงกับ IP address โปรแกรม ARP จะหาใน ARP cache เมื่อพบแล้วจะแปลงแพ็คเกต เป็นแพ็คเกตที่มีความ ยาวและรูปแบบที่ถูกต้องเพื่อส่งไปยังเครื่องที่ระบุไว้ แต่ถ้าไม่พบ ARP จะกระจายแพ็คเกตในรูปแบบพิเศษ ไปยังเครื่องทุกเครื่องในระบบและถ้าเครื่องใดเครื่องหนึ่งทราบว่ามี IP address ตรงกันก็จะตอบกลับมาที่ ARP โปรแกรม ARP จะปรับปรุง ARP cache และส่งแพ็คเกตไปยัง MAC address หรือเครื่องที่ตอบมา
เนื่องจากแต่ละโปรโตคอลมีรายละเอียดที่แตกต่างกันตามประเภทของ LAN ดังนั้นจึงมี การแยก ARP Request for Comments ตามประเภทของโปรโตคอลสำหรับ Ethernet, asynchronous transfer mode, Fiber Distributed-Data Interface, HIPPI และโปรโตคอลอื่น
ส่วน Reverse ARP สำหรับเครื่อง host ที่ไม่รู้จัก IP address นั้น RARP สามารถให้เครื่องเหล่านี้ขอ IP address จาก ARP cache ของ Gateway
การทำงานของ ARP
เมื่อแพ็คเกตนำเข้าที่ระบุเครื่อง host ในระบบเครือข่ายมาถึง Gateway เครื่องที่ Gateway จะเรียกโปรแกรม ARP ให้หาเครื่อง host หรือ MAC address ที่ตรงกับ IP address โปรแกรม ARP จะหาใน ARP cache เมื่อพบแล้วจะแปลงแพ็คเกต เป็นแพ็คเกตที่มีความ ยาวและรูปแบบที่ถูกต้องเพื่อส่งไปยังเครื่องที่ระบุไว้ แต่ถ้าไม่พบ ARP จะกระจายแพ็คเกตในรูปแบบพิเศษ ไปยังเครื่องทุกเครื่องในระบบและถ้าเครื่องใดเครื่องหนึ่งทราบว่ามี IP address ตรงกันก็จะตอบกลับมาที่ ARP โปรแกรม ARP จะปรับปรุง ARP cache และส่งแพ็คเกตไปยัง MAC address หรือเครื่องที่ตอบมา
เนื่องจากแต่ละโปรโตคอลมีรายละเอียดที่แตกต่างกันตามประเภทของ LAN ดังนั้นจึงมี การแยก ARP Request for Comments ตามประเภทของโปรโตคอลสำหรับ Ethernet, asynchronous transfer mode, Fiber Distributed-Data Interface, HIPPI และโปรโตคอลอื่น
ส่วน Reverse ARP สำหรับเครื่อง host ที่ไม่รู้จัก IP address นั้น RARP สามารถให้เครื่องเหล่านี้ขอ IP address จาก ARP cache ของ Gateway
ก่อนอื่น เราต้องรู้เกี่ยวกับ ARP Spoofing คร่าวๆก่อนครับ ว่ามันคืออะไร ทำไมถึงใช้วิธีนี้ดัก Packet เราได้ ?
ปกติแล้ว การที่เครื่องเซิฟเวอร์เราสื่อสารกับใคร จะต้องมีการรับส่งข้อมูลผ่านเครื่อง Gateway
[SERVER] <----> [GATEWAY] <----> [เครื่อง PC ของคุณ]
ซึ่ง Gateway ของ ISP จะปลอดภัยอยู่แล้ว คงไม่มีเจ้าหน้าที่ใน ISP คนไหนมานั่งดักข้อมูลกันหรอกครับ
แต่ถ้าอย่างระดับธนาคารเขาจะใช้ SSL (https://) ในการช่วยเข้ารหัส Packet ถึงดักไปก็จะได้ข้อมูลที่อ่านไม่รู้เรื่อง
แล้วถ้าอย่างเราๆบ้านๆ ไปซื้อ https:// หมด คงไม่ได้แน่ เพราะต้นทุนสูง ต้องใช้ Dedicated IP ด้วยอีก
เราตัดปัญหาที่เจ้าหน้าที่ ISP จะมาดักข้อมูลเราได้เลย เราไม่ได้มีข้อมูลอะไรสำคัญขนาดธนาคาร
เรามามองที่เรื่องของ ผู้ใช้ ใกล้ๆเรานี่สิครับ ที่จะมาดักข้อมูลเรา
แล้วคนใกล้ๆเรา จะดักข้อมูลเราได้อย่างไร ?
เราใช้วิธี ARP Spoofing ครับ โดยจะส่ง Packet บางอย่างมาหลอกเครื่องของเราว่า เครื่องเขาคือ Gateway
เช่น ปกติแล้ว IP ของ Gateway คือ 203.146.1.126
เขาก็จะส่ง Packet บางอย่างมาบอกว่า เครื่องของเขาคือ IP 203.146.1.126 นะต่อไปให้ติดต่อเครื่องของเขา การติดต่อสื่อสารก็จะเปลี่ยนเป็นลักษณะนี้
[SERVER] <----> [เครื่องของผู้ไม่หวังดี]<----> [GATEWAY] <----> [เครื่อง PC ของคุณ]
ทำให้เขาสามารถรับรู้ Packet ต่างๆที่วิ่งไหลผ่านเครื่องของคุณได้เลย ไม่ว่าจะเป็น
Username / Password ต่างๆ รวมไปถึงรหัสบัตรcredit card
การป้องกันเบื้องต้น จะใช้วิธี Fix ค่า ARP ในเครื่องของเรา ให้เป็น MAC Address ที่ถูกต้องของ Gateway จริงๆ ตลอดเวลาครับ
ทีมงานขอขอบคุณเครดิตจาก : คุณTMPAY,com5dow.com
นอกจากนัั้นแล้วขอแนะนำให้เพื่อนๆติดตั้งโปรแกรม Panda Cloud ทีมี่ระบบ firewall ประสิทธิภาพสูงในการป้องกันการโจมตีแบบ arp spoof ที่เป็นแบบ smart arp ซึ่งมีเฉพาะยี่ห้อ panda เท่านั้นที่มีระบบนี้
ปกติแล้ว การที่เครื่องเซิฟเวอร์เราสื่อสารกับใคร จะต้องมีการรับส่งข้อมูลผ่านเครื่อง Gateway
[SERVER] <----> [GATEWAY] <----> [เครื่อง PC ของคุณ]
ซึ่ง Gateway ของ ISP จะปลอดภัยอยู่แล้ว คงไม่มีเจ้าหน้าที่ใน ISP คนไหนมานั่งดักข้อมูลกันหรอกครับ
แต่ถ้าอย่างระดับธนาคารเขาจะใช้ SSL (https://) ในการช่วยเข้ารหัส Packet ถึงดักไปก็จะได้ข้อมูลที่อ่านไม่รู้เรื่อง
แล้วถ้าอย่างเราๆบ้านๆ ไปซื้อ https:// หมด คงไม่ได้แน่ เพราะต้นทุนสูง ต้องใช้ Dedicated IP ด้วยอีก
เราตัดปัญหาที่เจ้าหน้าที่ ISP จะมาดักข้อมูลเราได้เลย เราไม่ได้มีข้อมูลอะไรสำคัญขนาดธนาคาร
เรามามองที่เรื่องของ ผู้ใช้ ใกล้ๆเรานี่สิครับ ที่จะมาดักข้อมูลเรา
แล้วคนใกล้ๆเรา จะดักข้อมูลเราได้อย่างไร ?
เราใช้วิธี ARP Spoofing ครับ โดยจะส่ง Packet บางอย่างมาหลอกเครื่องของเราว่า เครื่องเขาคือ Gateway
เช่น ปกติแล้ว IP ของ Gateway คือ 203.146.1.126
เขาก็จะส่ง Packet บางอย่างมาบอกว่า เครื่องของเขาคือ IP 203.146.1.126 นะต่อไปให้ติดต่อเครื่องของเขา การติดต่อสื่อสารก็จะเปลี่ยนเป็นลักษณะนี้
[SERVER] <----> [เครื่องของผู้ไม่หวังดี]<----> [GATEWAY] <----> [เครื่อง PC ของคุณ]
ทำให้เขาสามารถรับรู้ Packet ต่างๆที่วิ่งไหลผ่านเครื่องของคุณได้เลย ไม่ว่าจะเป็น
Username / Password ต่างๆ รวมไปถึงรหัสบัตรcredit card
การป้องกันเบื้องต้น จะใช้วิธี Fix ค่า ARP ในเครื่องของเรา ให้เป็น MAC Address ที่ถูกต้องของ Gateway จริงๆ ตลอดเวลาครับ
ทีมงานขอขอบคุณเครดิตจาก : คุณTMPAY,com5dow.com
นอกจากนัั้นแล้วขอแนะนำให้เพื่อนๆติดตั้งโปรแกรม Panda Cloud ทีมี่ระบบ firewall ประสิทธิภาพสูงในการป้องกันการโจมตีแบบ arp spoof ที่เป็นแบบ smart arp ซึ่งมีเฉพาะยี่ห้อ panda เท่านั้นที่มีระบบนี้
เพื่อนๆสามารถทดลองใช้ Panda Cloud เพื่อกำจัดไวรัสในเครื่องและป้องกันhackerโจมตีรูปแบบต่างๆได้โดย Download เวอร์ชันทดลองใช้ 1 เดือนได้ที่ http://www.panda-thailand.com/newpanda/trial/
Spam คืออะไร ?
สแปม (Spam) คืออะไร
สแปม (Spam) คือ การส่งอีเมลที่มีข้อความโฆษณาไปให้โดยไม่ได้รับอนุญาตจากผู้รับ การสแปมส่วนใหญ่ทำเพื่อการโฆษณาเชิงพาณิชย์ มักจะเป็นสินค้าที่น่าสงสัย หรือการเสนองานที่ทำให้รายได้อย่างรวดเร็ว หรือบริการที่ก้ำกึ่งผิดกฏหมาย ผู้ส่งจะเสียค่าใช้จ่ายในการส่งไม่มากนัก แต่ค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่จะตกอยู่กับผู้รับอีเมลนั้น
เมื่อคุณได้รับ อีเมลที่มีหัวข้อเช่น "Make Money from Home" หรือ ?XXX Hot SEXXXY Girls" ถ้าอีเมลเหล่านี้ส่งมาจากคนที่คุณไม่รู้จัก แน่นอนว่าคุณไม่ต้องการรับอีเมลเหล่านี้แน่ ๆ เพราะมันจะทำให้คุณเสียเวลา ค่าใช้จ่าย แบนด์วิดธ์ และพื้นที่ในฮาร์ดดิสก์ในการดาวน์โหลดอีเมลเหล่านี้มาอ่าน ถึงแม้จะไม่มีวิธีที่จะกำจัดอีเมลเหล่านี้ได้ถึงร้อยเปอร์เซ็นต์ แต่คุณก็สามารถทำบางอย่างเพื่อปัองกันจดหมายขยะที่น่ารำคาญเหล่านี้ได้
ไซต์ ในอินเทอร์เน็ตหลาย ๆ ไซต์ที่ได้เงินจากการขายรายชื่อที่อยู่อีเมลให้กับผู้ส่งจดหมายขยะ (spammer) มีเว็ปไซต์หนึ่งที่ขายที่อยู่อีเมล 1 ล้านรายชื่อเพื่อเงินเพียง 59.95 ดอลลาร์ ส่วนอีกเว็ปไซต์หนึ่งขายซีดีที่มีรายชื่ออีเมล 15 ล้านชื่อเพื่อเงิน 120 ดอลลาร์
ทำไมจดหมายขยะถึงเพิ่มขึ้นทุกวัน ?
ผู้ ส่งจดหมายขยะจำเป็นต้องส่งไปจำนวนมาก ๆ เพราะเครื่องมือในการป้องกันจดหมายขยะฉลาดขึ้นเรื่อย ๆ และผู้ส่งเองก็มีวิธีใหม่ ๆ ในการค้นหาที่อยู่อีเมลและวิธีการหลบหลีกการป้องกันจากจดหมายขยะด้วย นอกจากนี้ การทำการตลาดทางอีเมลยังมีค่าใช้จ่ายถูก ในสหรัฐ ฯ ผู้ส่งอีเมลขยะจ่ายน้อยกว่าหนึ่งเพนนีต่อ อีเมลหนึ่งฉบับ ถ้าเปรียบเทียบกับการทำการตลาด ผู้ส่งจ่าย 1 ดอลลาร์สำหรับขายสินค้าทางโทรศัพท์ และ 75 เซ็นต์สำหรับการส่งจดหมายทางไปรษณีย์
spammer รู้ที่อยู่อีเมลของพวกเราได้อย่างไร
1. spammer ใช้โปรแกรมที่เก็บรวมรวมที่อยู่อีเมลโดยอัตโนมัติที่เรียกว่า Bot หรือ robot ที่สามารถ สแกนอินเทอร์เน็ตเพื่อหาที่อยู่อีเมล วิธีการหนึ่งที่ใช้เพื่อป้องกันวิธีนี้คือการใช้ที่อยู่อีเมลแจกฟรีแบบ web based email (อย่าง Hotmail.com หรือ yahoo.com เป็นต้น) แล้วจึงเก็บ POP mail ไว้สำหรับคนรู้จักและครอบครัวเท่านั้น วิธีนี้ไม่สามารถป้องกันสแปมได้ทั้งหมด แต่ก็สามารถป้องกัน bot ไม่ให้รู้ที่อยู่อีเมลหลักของคุณได้
ถ้าคุณมีเว็ปไซต์ของคุณเอง อย่าทำ hyperlink ให้กับ email address เพราะ spammer สามารถ ใช้เครื่องมือที่เรียกว่า spiders เพื่อรวบรวมเว็ปที่มี email address อยู่ โดย spiders สามารถไปตามลิงค์ต่าง ๆ และรวบรวมลิงค์ mailto คุณควรทำที่อยู่อีเมลของคุณให้เป็น text แทน เพื่อไม่ให้ spiders สามารถทำงานได้ ถ้าผู้ที่ต้องการส่งอีเมลถึงคุณ เขาจะไม่รังเกียจที่จะพิมพ์ที่อยู่อีเมลลงไปในโปรแกรมส่งอีเมลด้วยตัวเขาเอง
นอกจากนี้การส่งข้อความเข้าไปใน newsgroup โดยบอกที่อยู่อีเมลของคุณไปด้วย ทำให้ bots สามารถค้นหาที่อยู่อีเมลใน newsgroupได้ จดหมาย Spam ที่คุณได้รับบางครั้งก็ขึ้นอยู่กับว่าคุณส่งข้อความของคุณไปที่ newsgroup ใด เช่น ถ้าคุณส่งข้อความเข้าไปที่ Alt.DVD คุณอาจได้รับอีเมลที่ให้ข้อเสนอที่เกี่ยวกับ DVD
ด้วยเหตุนี้ผู้คน ส่วนใหญ่จึงไม่ได้ใช้ที่อยู่อีเมลจริง ๆ หรือคุณอาจใช้วิธีเพิ่มตัวอักษรเข้าไปในท้ายที่อยู่เพื่อหลอก bot เช่น ถ้าคุณมีที่อยู่อีเมลคือ user@XYZ.net คุณสามารถบอกที่อยู่อีเมลเป็น user@XYZ.REMOVE.net แล้วจึงบอกในข้อความนั้นให้ผู้อ่านรู้ว่าให้นำคำว่า "REMOVE" ออกไปเพื่อแก้ไขให้ถูกต้อง (วิธีอื่น ๆ ที่คุณสามารถใช้เพื่อหลีกเลี่ยง bot เมื่อคุณจำเป็นต้องใส่ที่อยู่อีเมลในอินเทอร์เน็ต เช่น การเพิ่มช่องว่างเข้าไป เช่น ?user @ hotmail.com? หรือการเปลี่ยน @ เป็น at เช่น ?user at hotmail.com? เป็นต้น)
ก่อนที่คุณจะโพสต์ที่อยู่ อีเมลของคุณใน newsgroup หรือเว็ปไซต์ใด ๆ หรือการสำรวจข้อมูลใด ๆ ก็ตาม คุณควรสมัคร free email account อีกแห่งหนึ่ง ที่ไม่ใช่อีเมลหลักของคุณ ใช้อีเมลหลักของคุณสำหรับ คนที่คุณสามารถเชื่อถือได้เท่านั้น
ที่เว็ปไซต์ http://www.u.arizona.edu/~trw/spam/ มีสคริปท์แจกฟรีที่คุณสามารถใช้เพื่อเข้ารหัสที่อยู่อีเมลของคุณเพื่อไม่ให้ bot สามารถหาที่อยู่อีเมลของคุณได้
2. ถ้าคุณได้รับจดหมายลูกโซ่ อย่างเช่น "ส่งอีเมลนี้ต่อไปให้คนสิบคนแล้วไมโครซอฟท์จะส่งเช็คมูลค่า 1000 ดอลลาร์มาให้คุณ" ถ้าคุณเคยได้รับอีเมลที่มีรายชื่อผู้รับจำนวนมาก อย่าส่งต่ออีเมลเหล่านี้เนื่องจาก ที่อยู่อีเมลของคุณจะติดไปพร้อมกับอีเมลเหล่านี้
เมื่อคุณได้รับอี เมลลูกโซ่มาจากแหล่งที่ไม่รู้จัก บอกว่า "โปรดตอบจดหมายนี้ โดยมีหัวข้อตอบกลับว่า Remove เพื่อยกเลิกรับการเป็นสมาชิกแจ้งข่าวสารทางอีเมล" คุณไม่ควรตอบอีเมลนี้ เพราะการส่งอีเมลนี้ใช้เพื่อพิสูจน์ว่าที่อยู่อีเมลนี้มีจริง ซึ่งจะเป็นประโยชน์แก่ผู้ส่งอีเมลขยะเอง
3.เมื่อคุณป้อนที่อยู่อี เมลในฟอร์มของเว็ปไซต์เพื่อสมัครบริการของเว็ปนั้น ถึงแม้ว่าเว็ปไซต์นั้นสัญญาว่าจะเก็บที่อยู่อีเมลไว้เป็นความลับ แต่ดูเหมือนคำสัญญาไม่ได้ป้องกันให้บริษัทเหล่านั้นเปิดเผยข้อมูลให้บุคคล ที่สามได้เลย มีคนหนึ่งที่เคยสมัครกับเว็ปไซต์ประเภท joke of the day โดยบอกที่อยู่อีเมลแบบ web based ไป เป็นครั้งเดียวที่เขาได้สมัครเพื่อขอใช้บริการเว็ปในอินเทอร์เน็ต ภายในหนึ่งสัปดาห์ต่อมาเขาได้รับจดหมายขยะ มีตั้งแต่เรื่อง "Make A Million $$$" ไปจนถึง How To Keep Women Happy
4.การใช้คำทั่ว ๆ ไป (เช่นเป็นคำใน dictionary) เป็นชื่อแอกเคาท์ช่วยให้ผู้ส่งจดหมายขยะสามารถเดาชื่อเหล่านี้และส่งไปได้ วิธีการแก้ไขคือการใช้ชื่อแอคเคาท์ที่สะกดผิด จะช่วยให้ผู้ส่งจดหมายขยะยากที่จะคาดเดาชื่อแอคเคาท์และส่งอีเมลมาแบบไม่ เลือกได้
5.ไซต์ที่มีบริการที่ให้คุณสามารถส่ง greeting cards ไปยังคนอื่น ๆ บางแห่งจะเก็บรวบรวมที่อยู่อีเมลไว้ แล้วเก็บไว้หรือขายให้กับผู้ส่งจดหมายขยะ
6.การขโมยข้อมูล โดยการสร้างเว็ปไซต์ที่จริง ๆ แล้วไม่ได้ใช้ http protocol แต่ใช้ anonymous ftp แทน มีเว็ปบราวเซอร์หลาย ๆ ตัวจะส่งที่อยู่อีเมลแทนรหัสผ่าน เพื่อเข้าไปใน anonymous ftp
สแปม (Spam) คือ การส่งอีเมลที่มีข้อความโฆษณาไปให้โดยไม่ได้รับอนุญาตจากผู้รับ การสแปมส่วนใหญ่ทำเพื่อการโฆษณาเชิงพาณิชย์ มักจะเป็นสินค้าที่น่าสงสัย หรือการเสนองานที่ทำให้รายได้อย่างรวดเร็ว หรือบริการที่ก้ำกึ่งผิดกฏหมาย ผู้ส่งจะเสียค่าใช้จ่ายในการส่งไม่มากนัก แต่ค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่จะตกอยู่กับผู้รับอีเมลนั้น
เมื่อคุณได้รับ อีเมลที่มีหัวข้อเช่น "Make Money from Home" หรือ ?XXX Hot SEXXXY Girls" ถ้าอีเมลเหล่านี้ส่งมาจากคนที่คุณไม่รู้จัก แน่นอนว่าคุณไม่ต้องการรับอีเมลเหล่านี้แน่ ๆ เพราะมันจะทำให้คุณเสียเวลา ค่าใช้จ่าย แบนด์วิดธ์ และพื้นที่ในฮาร์ดดิสก์ในการดาวน์โหลดอีเมลเหล่านี้มาอ่าน ถึงแม้จะไม่มีวิธีที่จะกำจัดอีเมลเหล่านี้ได้ถึงร้อยเปอร์เซ็นต์ แต่คุณก็สามารถทำบางอย่างเพื่อปัองกันจดหมายขยะที่น่ารำคาญเหล่านี้ได้
ไซต์ ในอินเทอร์เน็ตหลาย ๆ ไซต์ที่ได้เงินจากการขายรายชื่อที่อยู่อีเมลให้กับผู้ส่งจดหมายขยะ (spammer) มีเว็ปไซต์หนึ่งที่ขายที่อยู่อีเมล 1 ล้านรายชื่อเพื่อเงินเพียง 59.95 ดอลลาร์ ส่วนอีกเว็ปไซต์หนึ่งขายซีดีที่มีรายชื่ออีเมล 15 ล้านชื่อเพื่อเงิน 120 ดอลลาร์
ทำไมจดหมายขยะถึงเพิ่มขึ้นทุกวัน ?
ผู้ ส่งจดหมายขยะจำเป็นต้องส่งไปจำนวนมาก ๆ เพราะเครื่องมือในการป้องกันจดหมายขยะฉลาดขึ้นเรื่อย ๆ และผู้ส่งเองก็มีวิธีใหม่ ๆ ในการค้นหาที่อยู่อีเมลและวิธีการหลบหลีกการป้องกันจากจดหมายขยะด้วย นอกจากนี้ การทำการตลาดทางอีเมลยังมีค่าใช้จ่ายถูก ในสหรัฐ ฯ ผู้ส่งอีเมลขยะจ่ายน้อยกว่าหนึ่งเพนนีต่อ อีเมลหนึ่งฉบับ ถ้าเปรียบเทียบกับการทำการตลาด ผู้ส่งจ่าย 1 ดอลลาร์สำหรับขายสินค้าทางโทรศัพท์ และ 75 เซ็นต์สำหรับการส่งจดหมายทางไปรษณีย์
spammer รู้ที่อยู่อีเมลของพวกเราได้อย่างไร
1. spammer ใช้โปรแกรมที่เก็บรวมรวมที่อยู่อีเมลโดยอัตโนมัติที่เรียกว่า Bot หรือ robot ที่สามารถ สแกนอินเทอร์เน็ตเพื่อหาที่อยู่อีเมล วิธีการหนึ่งที่ใช้เพื่อป้องกันวิธีนี้คือการใช้ที่อยู่อีเมลแจกฟรีแบบ web based email (อย่าง Hotmail.com หรือ yahoo.com เป็นต้น) แล้วจึงเก็บ POP mail ไว้สำหรับคนรู้จักและครอบครัวเท่านั้น วิธีนี้ไม่สามารถป้องกันสแปมได้ทั้งหมด แต่ก็สามารถป้องกัน bot ไม่ให้รู้ที่อยู่อีเมลหลักของคุณได้
ถ้าคุณมีเว็ปไซต์ของคุณเอง อย่าทำ hyperlink ให้กับ email address เพราะ spammer สามารถ ใช้เครื่องมือที่เรียกว่า spiders เพื่อรวบรวมเว็ปที่มี email address อยู่ โดย spiders สามารถไปตามลิงค์ต่าง ๆ และรวบรวมลิงค์ mailto คุณควรทำที่อยู่อีเมลของคุณให้เป็น text แทน เพื่อไม่ให้ spiders สามารถทำงานได้ ถ้าผู้ที่ต้องการส่งอีเมลถึงคุณ เขาจะไม่รังเกียจที่จะพิมพ์ที่อยู่อีเมลลงไปในโปรแกรมส่งอีเมลด้วยตัวเขาเอง
นอกจากนี้การส่งข้อความเข้าไปใน newsgroup โดยบอกที่อยู่อีเมลของคุณไปด้วย ทำให้ bots สามารถค้นหาที่อยู่อีเมลใน newsgroupได้ จดหมาย Spam ที่คุณได้รับบางครั้งก็ขึ้นอยู่กับว่าคุณส่งข้อความของคุณไปที่ newsgroup ใด เช่น ถ้าคุณส่งข้อความเข้าไปที่ Alt.DVD คุณอาจได้รับอีเมลที่ให้ข้อเสนอที่เกี่ยวกับ DVD
ด้วยเหตุนี้ผู้คน ส่วนใหญ่จึงไม่ได้ใช้ที่อยู่อีเมลจริง ๆ หรือคุณอาจใช้วิธีเพิ่มตัวอักษรเข้าไปในท้ายที่อยู่เพื่อหลอก bot เช่น ถ้าคุณมีที่อยู่อีเมลคือ user@XYZ.net คุณสามารถบอกที่อยู่อีเมลเป็น user@XYZ.REMOVE.net แล้วจึงบอกในข้อความนั้นให้ผู้อ่านรู้ว่าให้นำคำว่า "REMOVE" ออกไปเพื่อแก้ไขให้ถูกต้อง (วิธีอื่น ๆ ที่คุณสามารถใช้เพื่อหลีกเลี่ยง bot เมื่อคุณจำเป็นต้องใส่ที่อยู่อีเมลในอินเทอร์เน็ต เช่น การเพิ่มช่องว่างเข้าไป เช่น ?user @ hotmail.com? หรือการเปลี่ยน @ เป็น at เช่น ?user at hotmail.com? เป็นต้น)
ก่อนที่คุณจะโพสต์ที่อยู่ อีเมลของคุณใน newsgroup หรือเว็ปไซต์ใด ๆ หรือการสำรวจข้อมูลใด ๆ ก็ตาม คุณควรสมัคร free email account อีกแห่งหนึ่ง ที่ไม่ใช่อีเมลหลักของคุณ ใช้อีเมลหลักของคุณสำหรับ คนที่คุณสามารถเชื่อถือได้เท่านั้น
ที่เว็ปไซต์ http://www.u.arizona.edu/~trw/spam/ มีสคริปท์แจกฟรีที่คุณสามารถใช้เพื่อเข้ารหัสที่อยู่อีเมลของคุณเพื่อไม่ให้ bot สามารถหาที่อยู่อีเมลของคุณได้
2. ถ้าคุณได้รับจดหมายลูกโซ่ อย่างเช่น "ส่งอีเมลนี้ต่อไปให้คนสิบคนแล้วไมโครซอฟท์จะส่งเช็คมูลค่า 1000 ดอลลาร์มาให้คุณ" ถ้าคุณเคยได้รับอีเมลที่มีรายชื่อผู้รับจำนวนมาก อย่าส่งต่ออีเมลเหล่านี้เนื่องจาก ที่อยู่อีเมลของคุณจะติดไปพร้อมกับอีเมลเหล่านี้
เมื่อคุณได้รับอี เมลลูกโซ่มาจากแหล่งที่ไม่รู้จัก บอกว่า "โปรดตอบจดหมายนี้ โดยมีหัวข้อตอบกลับว่า Remove เพื่อยกเลิกรับการเป็นสมาชิกแจ้งข่าวสารทางอีเมล" คุณไม่ควรตอบอีเมลนี้ เพราะการส่งอีเมลนี้ใช้เพื่อพิสูจน์ว่าที่อยู่อีเมลนี้มีจริง ซึ่งจะเป็นประโยชน์แก่ผู้ส่งอีเมลขยะเอง
3.เมื่อคุณป้อนที่อยู่อี เมลในฟอร์มของเว็ปไซต์เพื่อสมัครบริการของเว็ปนั้น ถึงแม้ว่าเว็ปไซต์นั้นสัญญาว่าจะเก็บที่อยู่อีเมลไว้เป็นความลับ แต่ดูเหมือนคำสัญญาไม่ได้ป้องกันให้บริษัทเหล่านั้นเปิดเผยข้อมูลให้บุคคล ที่สามได้เลย มีคนหนึ่งที่เคยสมัครกับเว็ปไซต์ประเภท joke of the day โดยบอกที่อยู่อีเมลแบบ web based ไป เป็นครั้งเดียวที่เขาได้สมัครเพื่อขอใช้บริการเว็ปในอินเทอร์เน็ต ภายในหนึ่งสัปดาห์ต่อมาเขาได้รับจดหมายขยะ มีตั้งแต่เรื่อง "Make A Million $$$" ไปจนถึง How To Keep Women Happy
4.การใช้คำทั่ว ๆ ไป (เช่นเป็นคำใน dictionary) เป็นชื่อแอกเคาท์ช่วยให้ผู้ส่งจดหมายขยะสามารถเดาชื่อเหล่านี้และส่งไปได้ วิธีการแก้ไขคือการใช้ชื่อแอคเคาท์ที่สะกดผิด จะช่วยให้ผู้ส่งจดหมายขยะยากที่จะคาดเดาชื่อแอคเคาท์และส่งอีเมลมาแบบไม่ เลือกได้
5.ไซต์ที่มีบริการที่ให้คุณสามารถส่ง greeting cards ไปยังคนอื่น ๆ บางแห่งจะเก็บรวบรวมที่อยู่อีเมลไว้ แล้วเก็บไว้หรือขายให้กับผู้ส่งจดหมายขยะ
6.การขโมยข้อมูล โดยการสร้างเว็ปไซต์ที่จริง ๆ แล้วไม่ได้ใช้ http protocol แต่ใช้ anonymous ftp แทน มีเว็ปบราวเซอร์หลาย ๆ ตัวจะส่งที่อยู่อีเมลแทนรหัสผ่าน เพื่อเข้าไปใน anonymous ftp
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)